www.sac.or.th
Open in
urlscan Pro
2001:3c8:1605:1::34
Public Scan
Submitted URL: http://www.sac.or.th/
Effective URL: https://www.sac.or.th/portal/
Submission: On December 12 via api from US — Scanned from DE
Effective URL: https://www.sac.or.th/portal/
Submission: On December 12 via api from US — Scanned from DE
Form analysis
0 forms found in the DOMText Content
Logo ปิดเมนู * บริการความรู้ * ย้อนกลับ * บริการความรู้ * Culturio (คัลเจอะริโอ) * ฐานข้อมูล * บทความ * วารสาร * นิทรรศการ * ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย * จดหมายข่าวออนไลน์ * SAC Channel * โครงการที่ผ่านมา * ย้อนกลับ * โครงการที่ผ่านมา * Culture and Rights in Thailand * ICH and Museums Learning Resources * Intangible Cultural Heritage and Museums Field School ปิดเมนู * ข่าวสารและกิจกรรม * ย้อนกลับ * ข่าวสารและกิจกรรม * กิจกรรม * ข่าวประชาสัมพันธ์ * จัดซื้อ จัดจ้าง * ย้อนกลับ * จัดซื้อ จัดจ้าง * ประกาศจัดซื้อจัดจ้าง * ประกาศประกวดราคา * ประกาศราคากลางการจัดซื้อจัดจ้าง * สรุปผลการดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างในรอบเดือนตามแบบ สขร.1 * รายงานแผนและผลการจัดซื้อจัดจ้าง * รายงานสรุปผลเรื่องร้องเรียนร้องทุกข์ * ร่วมงานกับเรา * สื่อมวลชน * กิจกรรมสำคัญที่ผ่านมา * ย้อนกลับ * กิจกรรมสำคัญที่ผ่านมา * IPPA 2022 * BUMA X 2022 * SAC Anthropology FILM Screenings ปิดเมนู * เกี่ยวกับเรา * ย้อนกลับ * เกี่ยวกับเรา * ข้อมูลหน่วยงาน * ย้อนกลับ * ข้อมูลหน่วยงาน * ประวัติความเป็นมา * วิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยม อำนาจหน้าที่ * ยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ * แผนการดำเนินงาน * ผลการดำเนินงาน * กฎหมาย ระเบียบ * อัตลักษณ์องค์กร * โครงสร้างองค์กร * ย้อนกลับ * โครงสร้างองค์กร * โครงสร้างการบริหารงาน * คณะกรรมการ * ผู้บริหารระดับสูง * ผู้บริหารระดับสำนัก * ฝ่าย * ธรรมาภิบาล * ย้อนกลับ * ธรรมาภิบาล * การประเมิน ITA * ประมวลจริยธรรม * การบริหารบ้านเมืองที่ดี * แผนพัฒนาดิจิทัล * แผนบริหารความต่อเนื่อง * แผนบริหารความเสี่ยง * แนวปฏิบัติการจัดการคลังข้อมูล * งานองค์กรคุณธรรม * สถิติการให้บริการ * รายงานผลประเมินความพึงพอใจ * การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล * รายงานประจำปี 2565 * คำถามที่พบบ่อย (FAQs) * โครงการเพื่อพัฒนาองค์กร * ย้อนกลับ * โครงการเพื่อพัฒนาองค์กร * แพลตฟอร์มการบริหารงาน PMOP * ข้อกำหนดการให้บริการ * นโยบายข้อมูลส่วนบุคคล * ประกาศความเป็นส่วนตัว ปิดเมนู * ติดต่อเรา * ย้อนกลับ * ติดต่อเรา * ติดต่อเรา * จองเข้าเยี่ยมชมพื้นที่การเรียนรู้ ปิดเมนู ห้องสมุด ร้านค้า ตัวช่วยการมองเห็น ก ก ก ขยายขนาดตัวอักษร C C C ปรับชุดสี ‹› ‹› ไฮไลท์ บทความ ข่าวประชาสัมพันธ์ กิจกรรม ข่าวประชาสัมพันธ์ประกาศรับสมัคร โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ SHUTTER STORIES: เล่าภาพย่านเก่าในความทรงจำผ่านเลนส์มานุษยวิทยา ข่าวประชาสัมพันธ์ 1 ธันวาคม 2566 ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) (ศมส.) เปิดรับสมัครผู้สนใจเข้าร่วมอบรมเชิงปฏิบัติการ Shutter Stories: เล่าภาพย่านเก่าในความทรงจำผ่านเลนส์มานุษยวิทยา วันนี้ - 20 ธ.ค. 2566 อ่านต่อ บทความบริโภคนิยมสุดโต่ง (HYPERCONSUMERISM) วัฒนธรรมร่วมสมัย 8 ธันวาคม 2566 สังคมโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ขับเคลื่อนด้วยระบบทุนนิยมและความเจริญทางเทคโนโลยี ทำให้ชีวิตของมนุษย์เปลี่ยนเป็นพึ่งพาวัตถุเพื่อความสะดวกสบาย เรียกช่วงเวลานี้ว่า “สังคมสมัยใหม่สุดโต่ง” อ่านต่อ บทความถนนสังหาร: โศกนาฎกรรมต่างสายพันธุ์บนจุดตัดการเดินทาง พืช สัตว์ สิ่งของที่มากกว่ามนุษย์ 7 ธันวาคม 2566 โศกนาฎกรรมหลากสายพันธุ์ นำเสนอความตายของสัตว์บนท้องถนนในมิติต่าง ๆ ตั้งแต่สาเหตุ ความรุนแรงที่เกิดขึ้นบ่อยจนกลายเป็นเรื่องปกติของคนในสังคม และผลกระทบที่เกิดขึ้นกับสายพันธุ์อื่น อ่านต่อ บทความBIOARCHAEOLOGY โบราณคดี และประวัติศาสตร์ 6 ธันวาคม 2566 คำว่า “bioarchaeology” ยังไม่มีการบัญญัติศัพท์ภาษาไทยอย่างเป็นทางการ งานวิชาการไทยที่ผ่านมามีการแปลและใช้คำนี้อย่างหลากหลาย เช่น ชีวโบราณคดี โบราณคดีเชิงชีววิทยา โบราณชีววิทยา อ่านต่อ ข่าวประชาสัมพันธ์ปฏิทินกิจกรรม SAC WORKSHOP 2567 ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) ข่าวประชาสัมพันธ์ 30 พฤศจิกายน 2566 ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) ได้พัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้ใหม่ ๆ ที่บูรณาการระหว่างพื้นที่การเรียนรู้ Online และ Onsite ตลอดจนการทำงานกับศาสตร์อื่น ๆ เพื่อเปิดมุมมองใหม่ในการมองโลกและความเข้าใจโลกอันวุ่นวายสับสนในปัจจุบัน จึงได้จัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้สนใจได้เข้าร่วมกิจกรรม อ่านต่อ บทความมานุษยวิทยากับการออกแบบประสบการณ์ของบุคลากรในโรงพยาบาล วัฒนธรรมสุขภาพ 1 ธันวาคม 2566 ปัจจุบันแนวคิดทางการตลาดเริ่มถูกนำมาประยุกต์ใช้ในการดูแลบุคลากรในหน่วยงานมากขึ้น เพื่อปรับปรุงแก้ไขจุดบกพร่อง สร้างแรงจูงใจและส่งเสริมให้พนักงานมีความสุขในการทำงาน อ่านต่อ บทความเชื้อชาติและสิทธิในมาเลเซีย อคติทางวัฒนธรรม และความรุนแรง 30 พฤศจิกายน 2566 ชาวจีนและชาวอินเดียบางส่วนประกอบอาชีพผู้ค้าปลีก ในขณะที่ชาวมาเลเซียดั้งเดิมเกือบทั้งหมดประกอบอาชีพเกษตรกร ชี้ให้เห็นว่าความแตกต่างทางเชื้อชาตินำมาซึ่งความแตกต่างทางสถานะเศรษฐกิจ อ่านต่อ บทความ“การเล่าเรื่อง” (STORYTELLING) โลกของ “คอนเทนต์” และกระบวนการสร้าง “อำนาจ” ศิลปะ ผัสสะ และสุนทรียภาพ 24 พฤศจิกายน 2566 ปัจจุบันเป็นยุคของการสร้าง “คอนเทนต์” ไม่เฉพาะปรากฎการณ์ที่เกิดขึ้นในโลกของสื่อสังคมออนไลน์แพลตฟอร์มต่าง ๆ หากแต่การพูดคุยในชีวิตประจำวัน คอนเทนต์ก็เป็นหนึ่งหัวข้อของการสนทนา อ่านต่อ บทความวิกฤติวิพากษ์ วัฒนธรรมร่วมสมัย 23 พฤศจิกายน 2566 สองทศวรรษแรกของศตวรรษที่ 21 เต็มไปด้วยการเกิดขึ้นของปัญหาต่าง ๆ ในระดับโลก สื่อดิจิทัลและเครือข่ายสังคมออนไลน์ เป็นปัจจัยที่วางเงื่อนไขสำคัญต่อการรับรู้ปัญหาและการแสดงความคิดเห็น อ่านต่อ บทความมานุษยวิทยาตำรวจ ANTHROPOLOGY OF POLICE รัฐ และวัฒนธรรมอำนาจ 17 พฤศจิกายน 2566 การศึกษาตำรวจเป็นเรื่องใหม่สำหรับนักมานุษยวิทยา และมีกรอบคิดที่ต่างไปจากรัฐศาสตร์ นิติศาสตร์ สังคมวิทยา และอาชญวิทยา เพราะมานุษยวิทยาเป็นกระบอกเสียงให้คนชายขอบได้มีพื้นที่ทางสังคมที่กว้างขึ้น อ่านต่อ บทความ“ผีน้อย”: ชีวิตแรงงานนอกระบบข้ามชาติ พื้นที่ การอพยพเคลื่อนย้าย และชายแดน 16 พฤศจิกายน 2566 ปัญหาแรงงานไทยที่ลักลอบทำงานโดยไม่ได้รับอนุญาตในเกาหลีใต้ ส่งผลสืบเนื่องให้คนไทยที่เดินทางไปเที่ยวประเทศเกาหลีใต้ถูกส่งกลับประเทศ จนกลายเป็นกระแส “แบนเที่ยวเกาหลี” อ่านต่อ บทความมานุษยวิทยาสถาปัตยกรรม ARCHITECTURAL ANTHROPOLOGY แนวคิด ทฤษฎีมานุษยวิทยา 10 พฤศจิกายน 2566 สนามศึกษาของนักมานุษยวิทยามีหลากหลาย บางครั้งก็เข้าไปศึกษาพื้นที่เดียวกันกับนักผังเมือง สถาปนิก หรือนักภูมิศาสตร์ แต่อาจเข้าไปศึกษาสิ่งที่แตกต่างกันด้วยแว่นตาที่แตกต่างกัน อ่านต่อ บทความสมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพกับประวัติศาสตร์นิพนธ์ไทยสมัยใหม่ โบราณคดี และประวัติศาสตร์ 9 พฤศจิกายน 2566 นับตั้งแต่ พ.ศ.2512 นิธิ เอียวศรีวงศ์ เขียนบทความเรื่อง “สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพกับอาร์โนล์ด ทอยน์บี” ลงพิมพ์ในวารสารสังคมศาสตร์ปริทัศน์ เพื่อพยายามทำความเข้าใจต่อบุคคลซึ่งได้รับสมญานามว่า “บิดาแห่งประวัติศาสตร์ไทย อ่านต่อ บทความระบบการดูแลที่มีผู้คนเป็นศูนย์กลาง (PERSON-CENTERED CARE) วัฒนธรรมสุขภาพ 3 พฤศจิกายน 2566 การริเริ่มขององค์กร Planetree ที่พยายามปรับเปลี่ยนระบบการดูแลที่แตกต่างจากเดิม โดยนำแนวคิดการดูแลที่มีลักษณะเป็นองค์รวมและมีผู้ป่วยเป็นศูนย์กลางเข้ามาใช้ในศูนย์การแพทย์แห่งหนึ่งในซานฟรานซิสโก อ่านต่อ บทความมานุษยวิทยานิติเวชกับร่างของศพ แนวคิด ทฤษฎีมานุษยวิทยา 2 พฤศจิกายน 2566 ในการศึกษาหลักฐานในคดีฆาตกรรม มีผู้เชี่ยวชาญหลายสาขาเข้ามาทำงาน รวมถึงนักมานุษยวิทยากายภาพ บรรพมานุษยวิทยา และพยาธิวิทยาโบราณซึ่งเข้ามาค้นหาร่องรอยและสภาพศพที่ถูกฆาตกรรม อ่านต่อ บทความJELLIFICATION เมื่อทะเลเต็มไปด้วยแมงกะพรุน พืช สัตว์ สิ่งของที่มากกว่ามนุษย์ 27 ตุลาคม 2566 ปรากฏการณ์แมงกะพรุนบลูม (Jellyfish bloom) หรือการเพิ่มจำนวน - รวมตัวกันของแมงกะพรุนอย่างหนาแน่นในทะเล จากการเข้าสู่ช่วงฤดูผสมพันธุ์ตามวงจรชีวิตธรรมชาติของแมงกะพรุนแต่ละสายพันธุ์ในช่วงเวลาไล่เลี่ยกัน ทำให้ในแต่ละช่วงเวลาของปีมักพบเห็นแมงกะพรุนสายพันธุ์ต่าง ๆ กระจายตัวอยู่ทั่วน่านน้ำ อ่านต่อ บทความแคมป์ผู้อพยพในอิสราเอล รัฐ และวัฒนธรรมอำนาจ 26 ตุลาคม 2566 ค่ายพักอาศัยของผู้อพยพทั้งผู้ลี้ภัยและแรงงานต่างด้าวในเขตประเทศอิสราเอลและปาเลสไตน์ เป็นสิ่งที่พบเห็นได้ทั่วไปและเป็นพื้นที่รวมของคนต่างเชื้อชาติและศาสนา รวมทั้งเป็นพื้นที่ของการปฏิบัติทางการเมือง อ่านต่อ บทความเราศึกษาทฤษฎี (มานุษยวิทยา) ไปทำไม: จากแว่นกระบวนทัศน์สู่กระจกสีหลังกระบวนทัศน์ WHY WE SHOULD LEARN (ANTHROPOLOGICAL) THEORY?: FROM PARADIGMATIC EYE-GLASSES TO POST-PARADIGMATIC STAINED GLASS แนวคิด ทฤษฎีมานุษยวิทยา 20 ตุลาคม 2566 การศึกษาทฤษฎีมานุษยวิทยากลายเป็นสิ่งที่น่าเบื่อหน่ายในปัจจุบัน จากความยากที่จะเข้าใจตัวบทที่เป็นนามธรรม และเพราะอิทธิพลของการนำเสนอ การจัดรูปแบบหลักสูตรที่ดึงดูดความสนใจในประเด็นเฉพาะเรื่อง อ่านต่อ บทความผู้ประกอบการทางวัฒนธรรม “กลไก” การเพิ่มคุณค่าวัฒนธรรมและมูลค่าเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน วัฒนธรรมร่วมสมัย 19 ตุลาคม 2566 ในศตวรรษที่ 21 ผู้ประกอบการทางวัฒนธรรมเป็นคำที่มีการพูดถึงกันอย่างมาก สะท้อนให้เห็นการเติบโตของโลกอุตสาหกรรมทางวัฒนธรรมที่มีมาอย่างต่อเนื่องนับจากศตวรรษที่ 20 อ่านต่อ ดูทั้งหมด บทความบริโภคนิยมสุดโต่ง (HYPERCONSUMERISM) วัฒนธรรมร่วมสมัย 8 ธันวาคม 2566 สังคมโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ขับเคลื่อนด้วยระบบทุนนิยมและความเจริญทางเทคโนโลยี ทำให้ชีวิตของมนุษย์เปลี่ยนเป็นพึ่งพาวัตถุเพื่อความสะดวกสบาย เรียกช่วงเวลานี้ว่า “สังคมสมัยใหม่สุดโต่ง” อ่านต่อ บทความถนนสังหาร: โศกนาฎกรรมต่างสายพันธุ์บนจุดตัดการเดินทาง พืช สัตว์ สิ่งของที่มากกว่ามนุษย์ 7 ธันวาคม 2566 โศกนาฎกรรมหลากสายพันธุ์ นำเสนอความตายของสัตว์บนท้องถนนในมิติต่าง ๆ ตั้งแต่สาเหตุ ความรุนแรงที่เกิดขึ้นบ่อยจนกลายเป็นเรื่องปกติของคนในสังคม และผลกระทบที่เกิดขึ้นกับสายพันธุ์อื่น อ่านต่อ บทความBIOARCHAEOLOGY โบราณคดี และประวัติศาสตร์ 6 ธันวาคม 2566 คำว่า “bioarchaeology” ยังไม่มีการบัญญัติศัพท์ภาษาไทยอย่างเป็นทางการ งานวิชาการไทยที่ผ่านมามีการแปลและใช้คำนี้อย่างหลากหลาย เช่น ชีวโบราณคดี โบราณคดีเชิงชีววิทยา โบราณชีววิทยา อ่านต่อ บทความมานุษยวิทยากับการออกแบบประสบการณ์ของบุคลากรในโรงพยาบาล วัฒนธรรมสุขภาพ 1 ธันวาคม 2566 ปัจจุบันแนวคิดทางการตลาดเริ่มถูกนำมาประยุกต์ใช้ในการดูแลบุคลากรในหน่วยงานมากขึ้น เพื่อปรับปรุงแก้ไขจุดบกพร่อง สร้างแรงจูงใจและส่งเสริมให้พนักงานมีความสุขในการทำงาน อ่านต่อ บทความเชื้อชาติและสิทธิในมาเลเซีย อคติทางวัฒนธรรม และความรุนแรง 30 พฤศจิกายน 2566 ชาวจีนและชาวอินเดียบางส่วนประกอบอาชีพผู้ค้าปลีก ในขณะที่ชาวมาเลเซียดั้งเดิมเกือบทั้งหมดประกอบอาชีพเกษตรกร ชี้ให้เห็นว่าความแตกต่างทางเชื้อชาตินำมาซึ่งความแตกต่างทางสถานะเศรษฐกิจ อ่านต่อ บทความ“การเล่าเรื่อง” (STORYTELLING) โลกของ “คอนเทนต์” และกระบวนการสร้าง “อำนาจ” ศิลปะ ผัสสะ และสุนทรียภาพ 24 พฤศจิกายน 2566 ปัจจุบันเป็นยุคของการสร้าง “คอนเทนต์” ไม่เฉพาะปรากฎการณ์ที่เกิดขึ้นในโลกของสื่อสังคมออนไลน์แพลตฟอร์มต่าง ๆ หากแต่การพูดคุยในชีวิตประจำวัน คอนเทนต์ก็เป็นหนึ่งหัวข้อของการสนทนา อ่านต่อ บทความวิกฤติวิพากษ์ วัฒนธรรมร่วมสมัย 23 พฤศจิกายน 2566 สองทศวรรษแรกของศตวรรษที่ 21 เต็มไปด้วยการเกิดขึ้นของปัญหาต่าง ๆ ในระดับโลก สื่อดิจิทัลและเครือข่ายสังคมออนไลน์ เป็นปัจจัยที่วางเงื่อนไขสำคัญต่อการรับรู้ปัญหาและการแสดงความคิดเห็น อ่านต่อ บทความมานุษยวิทยาตำรวจ ANTHROPOLOGY OF POLICE รัฐ และวัฒนธรรมอำนาจ 17 พฤศจิกายน 2566 การศึกษาตำรวจเป็นเรื่องใหม่สำหรับนักมานุษยวิทยา และมีกรอบคิดที่ต่างไปจากรัฐศาสตร์ นิติศาสตร์ สังคมวิทยา และอาชญวิทยา เพราะมานุษยวิทยาเป็นกระบอกเสียงให้คนชายขอบได้มีพื้นที่ทางสังคมที่กว้างขึ้น อ่านต่อ บทความ“ผีน้อย”: ชีวิตแรงงานนอกระบบข้ามชาติ พื้นที่ การอพยพเคลื่อนย้าย และชายแดน 16 พฤศจิกายน 2566 ปัญหาแรงงานไทยที่ลักลอบทำงานโดยไม่ได้รับอนุญาตในเกาหลีใต้ ส่งผลสืบเนื่องให้คนไทยที่เดินทางไปเที่ยวประเทศเกาหลีใต้ถูกส่งกลับประเทศ จนกลายเป็นกระแส “แบนเที่ยวเกาหลี” อ่านต่อ บทความมานุษยวิทยาสถาปัตยกรรม ARCHITECTURAL ANTHROPOLOGY แนวคิด ทฤษฎีมานุษยวิทยา 10 พฤศจิกายน 2566 สนามศึกษาของนักมานุษยวิทยามีหลากหลาย บางครั้งก็เข้าไปศึกษาพื้นที่เดียวกันกับนักผังเมือง สถาปนิก หรือนักภูมิศาสตร์ แต่อาจเข้าไปศึกษาสิ่งที่แตกต่างกันด้วยแว่นตาที่แตกต่างกัน อ่านต่อ บทความสมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพกับประวัติศาสตร์นิพนธ์ไทยสมัยใหม่ โบราณคดี และประวัติศาสตร์ 9 พฤศจิกายน 2566 นับตั้งแต่ พ.ศ.2512 นิธิ เอียวศรีวงศ์ เขียนบทความเรื่อง “สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพกับอาร์โนล์ด ทอยน์บี” ลงพิมพ์ในวารสารสังคมศาสตร์ปริทัศน์ เพื่อพยายามทำความเข้าใจต่อบุคคลซึ่งได้รับสมญานามว่า “บิดาแห่งประวัติศาสตร์ไทย อ่านต่อ บทความระบบการดูแลที่มีผู้คนเป็นศูนย์กลาง (PERSON-CENTERED CARE) วัฒนธรรมสุขภาพ 3 พฤศจิกายน 2566 การริเริ่มขององค์กร Planetree ที่พยายามปรับเปลี่ยนระบบการดูแลที่แตกต่างจากเดิม โดยนำแนวคิดการดูแลที่มีลักษณะเป็นองค์รวมและมีผู้ป่วยเป็นศูนย์กลางเข้ามาใช้ในศูนย์การแพทย์แห่งหนึ่งในซานฟรานซิสโก อ่านต่อ บทความมานุษยวิทยานิติเวชกับร่างของศพ แนวคิด ทฤษฎีมานุษยวิทยา 2 พฤศจิกายน 2566 ในการศึกษาหลักฐานในคดีฆาตกรรม มีผู้เชี่ยวชาญหลายสาขาเข้ามาทำงาน รวมถึงนักมานุษยวิทยากายภาพ บรรพมานุษยวิทยา และพยาธิวิทยาโบราณซึ่งเข้ามาค้นหาร่องรอยและสภาพศพที่ถูกฆาตกรรม อ่านต่อ บทความJELLIFICATION เมื่อทะเลเต็มไปด้วยแมงกะพรุน พืช สัตว์ สิ่งของที่มากกว่ามนุษย์ 27 ตุลาคม 2566 ปรากฏการณ์แมงกะพรุนบลูม (Jellyfish bloom) หรือการเพิ่มจำนวน - รวมตัวกันของแมงกะพรุนอย่างหนาแน่นในทะเล จากการเข้าสู่ช่วงฤดูผสมพันธุ์ตามวงจรชีวิตธรรมชาติของแมงกะพรุนแต่ละสายพันธุ์ในช่วงเวลาไล่เลี่ยกัน ทำให้ในแต่ละช่วงเวลาของปีมักพบเห็นแมงกะพรุนสายพันธุ์ต่าง ๆ กระจายตัวอยู่ทั่วน่านน้ำ อ่านต่อ บทความแคมป์ผู้อพยพในอิสราเอล รัฐ และวัฒนธรรมอำนาจ 26 ตุลาคม 2566 ค่ายพักอาศัยของผู้อพยพทั้งผู้ลี้ภัยและแรงงานต่างด้าวในเขตประเทศอิสราเอลและปาเลสไตน์ เป็นสิ่งที่พบเห็นได้ทั่วไปและเป็นพื้นที่รวมของคนต่างเชื้อชาติและศาสนา รวมทั้งเป็นพื้นที่ของการปฏิบัติทางการเมือง อ่านต่อ บทความเราศึกษาทฤษฎี (มานุษยวิทยา) ไปทำไม: จากแว่นกระบวนทัศน์สู่กระจกสีหลังกระบวนทัศน์ WHY WE SHOULD LEARN (ANTHROPOLOGICAL) THEORY?: FROM PARADIGMATIC EYE-GLASSES TO POST-PARADIGMATIC STAINED GLASS แนวคิด ทฤษฎีมานุษยวิทยา 20 ตุลาคม 2566 การศึกษาทฤษฎีมานุษยวิทยากลายเป็นสิ่งที่น่าเบื่อหน่ายในปัจจุบัน จากความยากที่จะเข้าใจตัวบทที่เป็นนามธรรม และเพราะอิทธิพลของการนำเสนอ การจัดรูปแบบหลักสูตรที่ดึงดูดความสนใจในประเด็นเฉพาะเรื่อง อ่านต่อ บทความผู้ประกอบการทางวัฒนธรรม “กลไก” การเพิ่มคุณค่าวัฒนธรรมและมูลค่าเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน วัฒนธรรมร่วมสมัย 19 ตุลาคม 2566 ในศตวรรษที่ 21 ผู้ประกอบการทางวัฒนธรรมเป็นคำที่มีการพูดถึงกันอย่างมาก สะท้อนให้เห็นการเติบโตของโลกอุตสาหกรรมทางวัฒนธรรมที่มีมาอย่างต่อเนื่องนับจากศตวรรษที่ 20 อ่านต่อ บทความCOMMUNITY ARCHIVES, COMMUNITY SPACES : HERITAGE, MEMORY AND IDENTITY พิพิธภัณฑ์ จดหมายเหตุ 19 ตุลาคม 2566 หลายชุมชนมีความตระหนักเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม และมรดกภูมิปัญญาของชุมชน ช่วยกันสร้างหอจดหมายเหตุเพื่อรวบรวมข้อมูลที่สำคัญทั้งเอกสารข้อมูลชั้นต้นเกี่ยวกับประวัติการก่อตั้ง วัฒนธรรม การแต่งกาย สภาพสังคมและความเป็นอยู่ของผู้คน อ่านต่อ บทความสังคมศาสตร์ปริทัศน์กับบทสนทนาว่าด้วย “จักรวรรดินิยมทางภูมิปัญญา” โบราณคดี และประวัติศาสตร์ 13 ตุลาคม 2566 วารสารสังคมศาสตร์ปริทัศน์นับว่าเป็นพื้นที่แสดงออกทางความคิดของปัญญาชนร่วมสมัยทั้งที่อยู่ในไทยและต่างประเทศ ในห้วงเวลาที่ประเทศไทยตกอยู่ภายใต้การปกครองของระบอบเผด็จการทหาร อ่านต่อ บทความคาร์บอนเครดิต กับกระบวนการเปลี่ยนความหมายของธรรมชาติและโลก การพัฒนาที่ยั่งยืน 12 ตุลาคม 2566 ตั้งแต่สหประชาชาติมีมติรับรองอนุสัญญาว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ แรงกดดันเพื่อกู้วิกฤติโลกร้อนพุ่งตรงมาที่ประเทศอุตสาหกรรม และกลุ่มทุนขนาดใหญ่ที่ปล่อยก๊าซเรือนกระจก อ่านต่อ ดูทั้งหมด ข่าวประชาสัมพันธ์ปิดทำการ วันหยุดชดเชยวันพระราชทานรัฐธรรมนูญ ข่าวประชาสัมพันธ์ 6 ธันวาคม 2566 ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) ปิดทำการ วันที่ 11 ธันวาคม 2566 เนื่องในวันหยุดชดเชยวันพระราชทานรัฐธรรมนูญ อ่านต่อ ข่าวประชาสัมพันธ์ประกาศรับสมัคร โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ SHUTTER STORIES: เล่าภาพย่านเก่าในความทรงจำผ่านเลนส์มานุษยวิทยา ข่าวประชาสัมพันธ์ 1 ธันวาคม 2566 ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) (ศมส.) เปิดรับสมัครผู้สนใจเข้าร่วมอบรมเชิงปฏิบัติการ Shutter Stories: เล่าภาพย่านเก่าในความทรงจำผ่านเลนส์มานุษยวิทยา วันนี้ - 20 ธ.ค. 2566 อ่านต่อ ข่าวประชาสัมพันธ์ปิดทำการ เนื่องในวันคล้ายวันพระบรมราชสมภพ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ข่าวประชาสัมพันธ์ 30 พฤศจิกายน 2566 ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) ปิดทำการ วันที่ 5 ธันวาคม 2566 เนื่องในวันคล้ายวันพระบรมราชสมภพพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร อ่านต่อ ข่าวประชาสัมพันธ์ปฏิทินกิจกรรม SAC WORKSHOP 2567 ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) ข่าวประชาสัมพันธ์ 30 พฤศจิกายน 2566 ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) ได้พัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้ใหม่ ๆ ที่บูรณาการระหว่างพื้นที่การเรียนรู้ Online และ Onsite ตลอดจนการทำงานกับศาสตร์อื่น ๆ เพื่อเปิดมุมมองใหม่ในการมองโลกและความเข้าใจโลกอันวุ่นวายสับสนในปัจจุบัน จึงได้จัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้สนใจได้เข้าร่วมกิจกรรม อ่านต่อ ข่าวประชาสัมพันธ์ปิดทำการ เนื่องในวันปิยมหาราช ข่าวประชาสัมพันธ์ 17 ตุลาคม 2566 ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) ปิดทำการ วันที่ 23 ตุลาคม 2566 เนื่องในวันปิยมหาราช อ่านต่อ ข่าวประชาสัมพันธ์ปิดทำการ เนื่องในวันนวมินทรมหาราช ข่าวประชาสัมพันธ์ 6 ตุลาคม 2566 ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) ปิดทำการ วันที่ 13 – 14 ตุลาคม 2566 เนื่องในวันนวมินทรมหาราช อ่านต่อ ข่าวประชาสัมพันธ์ประกาศรายชื่อต้นฉบับหนังสือที่ได้รับการคัดเลือกให้ตีพิมพ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) ข่าวประชาสัมพันธ์ 29 กันยายน 2566 ตามที่ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) เปิดรับและคัดเลือกต้นฉบับหนังสือวิชาการที่มีเนื้อหาสอดคล้องกับประเด็นวิชาการของศูนย์ฯ และมีการพัฒนาองค์ความรู้ที่เป็นประโยชน์ต่อแวดวงวิชาการ ทางสังคมศาสตร์ในประเทศไทย เพื่อตีพิมพ์ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 อ่านต่อ ข่าวประชาสัมพันธ์ศมส. จับมือสภาชนเผ่าพื้นเมืองแห่งประเทศไทย (สชพ.) และภาคีเครือข่าย จัดงานวันชนเผ่าพื้นเมืองโลกและวันชนเผ่าพื้นเมืองแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2566 ข่าวประชาสัมพันธ์ 15 สิงหาคม 2566 ศมส. ร่วมกับสภาชนเผ่าพื้นเมืองแห่งประเทศไทย (สชพ.) จัดงานรณรงค์และเฉลิมฉลองเนื่องในวันสากลชนเผ่าพื้นเมืองโลกและวันชนเผ่าพื้นเมืองแห่งประเทศไทย ประจำปี 2566 “พลังเยาวชนชนเผ่าพื้นเมือง ร่วมสร้างสรรค์สังคมสู่การเปลี่ยนแปลง” อ่านต่อ ข่าวประชาสัมพันธ์ปิดทำการ เนื่องในวันหยุด และวันหยุดชดเชยวันเฉลิมพระชนมพรรษา สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ข่าวประชาสัมพันธ์ 8 สิงหาคม 2566 ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) ปิดทำการ วันที่ 12 – 14 สิงหาคม 2566 เนื่องในวันหยุด และวันหยุดชดเชยวันเฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง อ่านต่อ ข่าวประชาสัมพันธ์ปิดทำการ เนื่องในวันหยุดราชการเพิ่มเป็นกรณีพิเศษตามมติคณะรัฐมนตรี วันอาสาฬหบูชา วันเข้าพรรษา และการสัมมนาบุคลากรเพื่อจัดทำ ข้อเสนอริเริ่มโครงการ (PROJECT BRIEF) ประจำปีงบประมาณ 2567 ข่าวประชาสัมพันธ์ 27 กรกฎาคม 2566 ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) ปิดทำการ วันที่ 31 กรกฎาคม – 5 สิงหาคม 2566 เนื่องในวันหยุดราชการเพิ่มเป็นกรณีพิเศษตามมติคณะรัฐมนตรี วันอาสาฬหบูชา วันเข้าพรรษา และการสัมมนาบุคลากรเพื่อจัดทำข้อเสนอริเริ่มโครงการ (PROJECT BRIEF) ประจำปีงบประมาณ 2567 อ่านต่อ ข่าวประชาสัมพันธ์ประกาศศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) เรื่องช่องทางอิเล็กทรอนิคส์สำหรับติดต่อศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร ข่าวประชาสัมพันธ์ 27 กรกฎาคม 2566 ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) จัดทำประกาศ เรื่องช่องทางอิเล็กทรอนิคส์สำหรับติดต่อศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร ตามมาตรา ๑๐ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติการปฏิบัติราชการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. ๒๕๖๕ โดยให้คำขออนุญาตหรือการติดต่อใด ๆ ที่ประชาชนส่งหรือมีถึงหน่วยงานของรัฐหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐที่เกี่ยวข้อง ทางช่องทางอิเล็กทรอนิกส์ที่หน่วยงานกำหนด อ่านต่อ ข่าวประชาสัมพันธ์ปิดทำการ เนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษา พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ข่าวประชาสัมพันธ์ 24 กรกฎาคม 2566 ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) ปิดทำการ วันที่ 28 – 29 กรกฎาคม 2566 เนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว และ ห้องสมุดเข้าร่วมกิจกรรมอ่าน เล่น เห็น เรื่อง Friends of Museum Siam: Library Books Share อ่านต่อ ข่าวประชาสัมพันธ์ประกาศเปิดรับข้อเสนอต้นฉบับหนังสือวิชาการมานุษยวิทยา ปี 2567 ข่าวประชาสัมพันธ์ 29 มิถุนายน 2566 ศมส. เปิดรับข้อเสนอต้นฉบับหนังสือวิชาการมานุษยวิทยา ปี 2567 วันที่ 1 ก.ค. - 31 ส.ค. 2566 อ่านต่อ ข่าวประชาสัมพันธ์ศมส. คว้ารางวัลการดำเนินการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมในสถานพยาบาล BANGKOK GREEN & CLEAN HOSPITAL PLUS (BKKGC+) ประจำปี 2565 ข่าวประชาสัมพันธ์ 27 มิถุนายน 2566 ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) คว้ารางวัลการดำเนินการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมในสถานพยาบาล Bangkok GREEN & CLEAN Hospital Plus (BKKGC+) ประจำปี 2565 ระดับเพชร (Diamond) อ่านต่อ ข่าวประชาสัมพันธ์ขอความกรุณาผู้ผ่านการคัดเลือกกิจกรรม FIELD TRIP: ตามรอยนายห้างอับดุลราฮิมและชาวดาวุดีโบห์ราแห่งบางกอก ติดต่อผู้ประสานงานเพื่อแจ้งช่องทางการชำระเงิน ข่าวประชาสัมพันธ์ 7 มิถุนายน 2566 ขอความกรุณาผู้ผ่านการคัดเลือกกิจกรรม Field Trip: ตามรอยนายห้างอับดุลราฮิมและชาวดาวุดีโบห์ราแห่งบางกอก ติดต่อผู้ประสานงานเพื่อแจ้งช่องทางการชำระเงินค่าเข้าร่วมกิจกรรม ตั้งแต่วันนี้ – 9 มิ.ย. 2566 อ่านต่อ ข่าวประชาสัมพันธ์ประกาศรายชื่อผู้ผ่านการคัดเลือก ข่าวประชาสัมพันธ์ 2 มิถุนายน 2566 กิจกรรม Field Trip: ตามรอยนายห้างอับดุลราฮิมและชาวดาวุดีโบห์ราแห่งบางกอก ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) อ่านต่อ ข่าวประชาสัมพันธ์ศมส. รับรางวัลหน่วยงานที่พัฒนาเว็บไซต์ผ่านเกณฑ์เว็บไซต์ที่ทุกคนเข้าถึงได้ ข่าวประชาสัมพันธ์ 30 พฤษภาคม 2566 ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) รับรางวัลหน่วยงานที่พัฒนาเว็บไซต์ผ่านเกณฑ์เว็บไซต์ที่ทุกคนเข้าถึงได้ Thailand Digital Accessibility Award 2023 อ่านต่อ ข่าวประชาสัมพันธ์ปิดทำการ เนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษา สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี และ วันหยุดชดเชยวันวิสาขบูชา ข่าวประชาสัมพันธ์ 30 พฤษภาคม 2566 ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) ปิดทำการ วันที่ 3 – 5 มิถุนายน 2566 เนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษา สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี และ วันหยุดชดเชยวันวิสาขบูชา อ่านต่อ ข่าวประชาสัมพันธ์ศมส. จัดกิจกรรม SAC WORKSHOP 2566 ส่งเสริมการใช้ประโยชน์พื้นที่เรียนรู้สำหรับทุกคน ข่าวประชาสัมพันธ์ 24 พฤษภาคม 2566 ศมส. จัดกิจกรรม SAC Workshop 2566 เพื่อส่งเสริมการใช้ประโยชน์พื้นที่เรียนรู้สำหรับทุกคน ระหว่างเดือน มิถุนายน - สิงหาคม 2566 นี้ อ่านต่อ ข่าวประชาสัมพันธ์เปิดรับสมัครเข้าร่วมกิจกรรม FIELD TRIP: ตามรอยนายห้างอับดุลราฮิมและชาวดาวุดีโบห์ราแห่งบางกอก ข่าวประชาสัมพันธ์ 22 พฤษภาคม 2566 ศมส.เปิดรับสมัครผู้สนใจเข้าร่วมกิจกรรม Field Trip: ตามรอยนายห้างอับดุลราฮิมและชาวดาวุดีโบห์ราแห่งบางกอก อ่านต่อ ดูทั้งหมด กิจกรรมความยืดหยุ่นในความไม่ยืดหยุ่น การค้าวัวข้ามแดนภายใต้ทุนนิยมจีน ผ่านระบบออนไลน์ 22 พฤศจิกายน 2566 13:00 - 15:00 อ่านต่อ กิจกรรมผี พระ เจ้า (FAITH FACTORS) ห้องสมุด สุข กาย ใจ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร เลขที่ 20 ถนนบรมราชชนนี เขตตลิ่งชัน กรุงเทพฯ 18 พฤศจิกายน 2566 09:30 - 12:00 อ่านต่อ กิจกรรมผี พระ เจ้า (FAITH FACTORS) ห้องสมุด สุข กาย ใจ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร เลขที่ 20 ถนนบรมราชชนนี เขตตลิ่งชัน กรุงเทพฯ 18 พฤศจิกายน 2566 13:30 - 15:00 อ่านต่อ กิจกรรมผี พระ เจ้า (FAITH FACTORS) ห้องสมุด สุข กาย ใจ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร เลขที่ 20 ถนนบรมราชชนนี เขตตลิ่งชัน กรุงเทพฯ 17 พฤศจิกายน 2566 10:30 - 12:00 อ่านต่อ กิจกรรมผี พระ เจ้า (FAITH FACTORS) ห้องสมุด สุข กาย ใจ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร เลขที่ 20 ถนนบรมราชชนนี เขตตลิ่งชัน กรุงเทพฯ 17 พฤศจิกายน 2566 13:30 - 15:00 อ่านต่อ กิจกรรมรถแห่: มหรสพสัญจรกับอีสานพลัดถิ่น ผ่านระบบออนไลน์ 26 ตุลาคม 2566 13:00 - 15:00 อ่านต่อ กิจกรรมปั้นดิน ตกแต่งลวดลาย ภาชนะดินเผา โดย วิทยากรจากคณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ชั้น 2 ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร เลขที่ 20 ถนนบรมราชชนนี เขตตลิ่งชัน กรุงเทพฯ 23 กันยายน 2566 09:00 - 13:00 อ่านต่อ กิจกรรมวรรณกรรมในสนามและสนามในวรรณกรรม ผ่านระบบออนไลน์ 21 กันยายน 2566 13:00 - 15:00 อ่านต่อ กิจกรรมเปิดตำนานราชวงศ์ปาไซ ห้อง 601 ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร เลขที่ 20 ถนนบรมราชชนนี เขตตลิ่งชัน กรุงเทพฯ 31 สิงหาคม 2566 13:30 - 15:00 อ่านต่อ กิจกรรมภาคสนามกับงานด้านเอกสารตัวเขียนของไทย 4 ภูมิภาค ในฐานะสื่อบันทึกภาษาไทย หอประชุม ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร เลขที่ 20 ถนนบรมราชชนนี เขตตลิ่งชัน กรุงเทพฯ 25 กรกฎาคม 2566 - 26 กรกฎาคม 2566 09:00 - 17:00 อ่านต่อ กิจกรรมบรรยายวิชาการออนไลน์สาธารณะ FIELDWORK STORY SERIES EP.11 หัวข้อ "ไฮนัวเนีย: งานสนามและพื้นที่ลับของคนเล่นยา" ผ่านระบบออนไลน์ 24 กรกฎาคม 2566 13:00 - 15:00 อ่านต่อ กิจกรรมลงสีกระถางดินเผา รอบที่ 1 ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร เลขที่ 20 ถนนบรมราชชนนี เขตตลิ่งชัน กรุงเทพฯ 22 กรกฎาคม 2566 09:30 - 10:30 อ่านต่อ กิจกรรมลงสีกระถางดินเผา รอบที่ 2 ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร เลขที่ 20 ถนนบรมราชชนนี เขตตลิ่งชัน กรุงเทพฯ 22 กรกฎาคม 2566 11:00 - 12:00 อ่านต่อ กิจกรรมการประชุมวิชาการ มานุษยวิทยา 66 ห้วข้อ "ชีวิตภาคสนาม (LIFE, ETHNOGRAPHICALLY!)" ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร เลขที่ 20 ถนนบรมราชชนนี เขตตลิ่งชัน กรุงเทพฯ 12 กรกฎาคม 2566 - 14 กรกฎาคม 2566 09:00 - 17:15 อ่านต่อ กิจกรรมคุกกี้หลากวัฒนธรรม ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร เลขที่ 20 ถนนบรมราชชนนี เขตตลิ่งชัน กรุงเทพฯ 18 มิถุนายน 2566 10:00 - 12:00 อ่านต่อ กิจกรรมWORK SHOP "เครื่องประดับชาติพันธุ์" ห้องสมุด สุข กาย ใจ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร เลขที่ 20 ถนนบรมราชชนนี เขตตลิ่งชัน กรุงเทพฯ 18 มิถุนายน 2566 13:00 - 15:00 อ่านต่อ กิจกรรม WORK SHOP "เครื่องแต่งกายตุ๊กตาชาติพันธุ์" ห้องสมุด สุข กาย ใจ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร เลขที่ 20 ถนนบรมราชชนนี เขตตลิ่งชัน กรุงเทพฯ 18 มิถุนายน 2566 10:00 - 12:00 อ่านต่อ กิจกรรมระบายสียักษ์ ลิง รอบที่ 1 ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร เลขที่ 20 ถนนบรมราชชนนี เขตตลิ่งชัน กรุงเทพฯ 17 มิถุนายน 2566 09:00 - 11:00 อ่านต่อ กิจกรรมระบายสียักษ์ ลิง รอบที่ 2 ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร เลขที่ 20 ถนนบรมราชชนนี เขตตลิ่งชัน กรุงเทพฯ 17 มิถุนายน 2566 13:00 - 15:00 อ่านต่อ กิจกรรมWORK SHOP "เครื่องประดับชาติพันธุ์" ห้องสมุด สุข กาย ใจ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร เลขที่ 20 ถนนบรมราชชนนี เขตตลิ่งชัน กรุงเทพฯ 17 มิถุนายน 2566 13:00 - 15:00 อ่านต่อ ดูทั้งหมด แพลตฟอร์มการเรียนรู้ CULTURIO ยินดีต้อนรับสู่ Culturio (คัลเจอะริโอ) แพลตฟอร์มการเรียนรู้ ทางวัฒนธรรม คลังความรู้ด้านมานุษยวิทยา จำนวน 197,990 ข้อมูล ที่สามารถ ค้นคว้า สร้างสรรค์ เรียนรู้ ได้ด้วยตนเอง ิ เข้าสู่เว็บไซต์ วิธีการใช้งาน HOW TO CULTURIO ค้นคว้า DISCOVER สามารถค้นคว้าข้อมูลด้านมานุษยวิทยาและวัฒนธรรมจากฐานข้อมูล ทรัพยากรห้องสมุด และข้อมูลที่คุณร่วมสร้างสรรค์ได้ในช่องค้นหาเดียว สร้างสรรค์ CREATE ร่วมสร้างสรรค์ คอนเทนต์ คอลเล็กชัน และชุดการเรียนรู้ ผ่านทรัพยากรที่คุณเลือกจัดสรรขึ้นมาเองเพื่อแบ่งปันการเรียนรู้ให้กับเพื่อนๆ แบ่งปัน SHARE แบ่งปันข้อมูลที่คุณสนใจได้หลากหลายช่องทาง เพียงกดปุ่มแชร์แล้วเลือกช่องทางที่ต้องการได้เลย เรียนรู้ LEARN เรียนรู้ร่วมกันผ่านกิจกรรมการเรียนรู้และหลักสูตรได้ทุกที่ทุกเวลา และเปลี่ยนการเรียนรู้ให้เป็นเรื่องสนุกด้วย Collaboraition Tools เข้าสู่เว็บไซต์ ไฮไลท์ HIGHLIGHT CULTURIO อัปเดต 12 ธ.ค. 2566 วชิรญาณวิเศษ หนังสือพิมพ์รายสัปดาห์ที่จัดทำขึ้นด้วยหอสมุดพระวชิรญาณ นิสา เชยกลิ่น ผู้นำเข้าข้อมูล อัปเดต 29 พ.ย. 2566 โบสถ์คริสต์ในประเทศเพื่อนบ้าน นอกเหนือจากประวัติศาสตร์ของการเดินเรือเพื่อการพาณิชย์และการปกครองของประเทศตะวันตกในช่วงศตวรรษที่ 17 ถึง 19 แล้ว รูปแบบของศิลปกรรมยังสะท้อนให้เห็นถึงอิทธิพลของตะวันตกอย่างชัดเจน โบสถ์หลายแห่งมีลักษณะ “คลาสิก” นั่นหมายถึงหน้าบันสามเหลี่ยม (Pediment) ที่รองรับด้วยเสาโครินเธียน (ชั้นบน) และไอโอนิก (ชั้นล่าง) อีกลักษณะคือ ศิลปะนีโอโกธิค หรือสถาปัตยกรรมที่พยายามฟื้นฟูศิลปะโกธิคขึ้นมาใหม่ ซึ่งพบเป็นจำนวนมากในประเทศอาณานิคม ตัวโบสถ์ประกอบด้วยหอคอยที่มีหลังคาทรงกรวยสูงทางด้านหน้า ด้านหลังเป็นอาคารโบสถ์ในผังสี่เหลี่ยมผืนผ้าปลายมน หน้าต่างแต่ละบานถูกแบ่งออกเป็นสองบานย่อย ยืดสูงและตกแต่งด้วยกระจกสี โบสถ์หลายแห่งได้รับการฟื้นฟูจากเหตุภัยพิบัติทางธรรมชาติ เช่น แผ่นดินไหว และสงคราม เช่น ความเสียหายจากการโจมตีในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 การก่อสร้างอาคารหลายแห่งจึงสอดคล้องกับภูมิประเทศ เช่น การใช้ระบบค้ำยันที่หนาหนัก หรือการสร้างหอคอยที่ตั้งแยกจากโบสถ์ ในบริเวณที่มีความเสี่ยงจากเหตุแผ่นดินไหวในฟิลิปปินส์ นอกจากนี้ ปรากฏองค์ประกอบบางอย่างของโบสถ์สะท้อนความเป็นท้องถิ่น เช่น อาสนวิหารเมืองวีกัน ฟิลิปปินส์ ที่มีองค์ประกอบเล็กน้อยที่ออกแบบตามแบบบารอกและตามแบบจีนได้ เช่นการประดับถ้วยรางวัล (trophy) และการนำเอาสิงโตหินแบบจีนมาประดับ ทนงศักดิ์ เลิศพิพัฒน์วรกุล ผู้นำเข้าข้อมูล อัปเดต 27 ก.ย. 2566 อ่านเลขดวงชาตาในจารึกล้านนา เรียนรู้เรื่องการอ่านตัวเลขในวงดวงชาตาในเบื้องต้น สามารถดูผังที่แสดงตำแหน่งของดาวพระเคราะห์ต่าง ๆ ว่าสถิตในราศีใดบ้าง และสามารถอ่านแบบถอดเลขออกมาจากวงดวงชาตานั้นออกมาอย่างเข้าใจ นวพรรณ ภัทรมูล ผู้นำเข้าข้อมูล อัปเดต 5 ต.ค. 2566 สังคมร่วมสมัย (course syllabus) สังคมไทยปัจจุบันกำลังอยู่ท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงทั้งเศรษฐกิจ การเมือง สังคมและวัฒนธรรม การทำความเข้าใจปรากฎการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นจึงจำเป็นต้องอาศัยองค์ความรู้และวิธีการที่หลากหลาย สังคมวิทยาและมานุษยวิทยาเป็นสาขาวิชาหนึ่งที่สามารถให้ทั้งแนวคิด รวมถึงวิธีการศึกษาประเด็นทางสังคมวัฒนธรรมร่วมสมัยได้อย่างลุ่มลึกและรอบด้าน หลักสูตรจึงนำมาใช้เป็นแนวทางเพื่อออกแบบหัวข้อการศึกษาเพื่อให้สอดรับกับประเด็นร่วมสมัยที่เกิดขึ้นในสังคมไทยโดยเริ่มจากแนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับการศึกษาสังคมร่วมสมัย การเลือกประเด็นสังคมร่วมสมัยที่น่าสนใจ ได้แก่ กลุ่มประเด็นเรื่องผู้คนกับสังคม กลุ่มประเด็นเรื่องครอบครัว เพศสภาพ และความสัมพันธ์ร่วมสมัย กลุ่มประเด็นเรื่องเทคโนโลยีกับสังคมและสุขภาพ กลุ่มประเด็นเรื่องความรุนแรงและความขัดแย้ง กลุ่มประเด็นเรื่องการเมืองและประชาธิปไตยร่วมสมัย การเรียนรู้ผ่านหัวข้อเหล่านี้จะช่วยให้ผู้เรียนสามารถอธิบายและวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของสังคมร่วมสมัยผ่านมุมมองทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา นำไปสู่ความเข้าใจต่อพลวัตและแนวโน้มการปรับตัวทางสังคมและวัฒนธรรมในการอยู่ร่วมกัน *หลักสูตรนี้เป็นผลผลิตจากกิจกรรมการให้ทุนสนับสนุนการพัฒนาหลักสูตรการเรียนรู้มานุษยวิทยาของศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) แก่ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กนกวรรณ ธราวรรณ และ ผู้ช่วยศาสตรจารย์ ดร.ปาณิภา สุขสม วิสุทธิ์ เวชวราภรณ์ ผู้นำเข้าข้อมูล อัปเดต 7 ธ.ค. 2566 (Serendib) The Island of Gems ภูมินามศรีลังกาจากบันทึกของชาวอาหรับ-เปอร์เซีย สุนิติ จฑามาศ ผู้นำเข้าข้อมูล อัปเดต 29 พ.ย. 2566 จารึกที่เกี่ยวข้องกับผู้ครองเมืองพะเยา คอลเล็กชันรวบรวมจารึกหลักที่บันทึกถึงผู้ครองเมืองพะเยา พร้อมสังเขปข้อมูลประวัติศาสตร์เกี่ยวกับผู้ครองเมืองพะเยา ทนงศักดิ์ เลิศพิพัฒน์วรกุล ผู้นำเข้าข้อมูล อัปเดต 27 ก.ย. 2566 ร่องรอยอารยธรรมทวาฯ จากศิลาจารึกพบที่เมืองโบราณศรีเทพ เรียนรู้เกี่ยวกับศิลาจารึกซึ่งนับเป็นหลักฐานทางโบราณคดีที่สำคัญและเป็นส่วนหนึ่งของเมืองโบราณศรีเทพ ซึ่งเป็นแหล่งอารยธรรมที่สำคัญแห่งหนึ่งที่ปรากฎร่องรอยหลักฐานซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงการตั้งถิ่นฐานอยู่อาศัยของมนุษย์ที่มีมาอย่างต่อเนื่องนับตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ศิลาจารึกที่พบในบริเวณเมืองโบราณศรีเทพนี้ก็เป็นหนึ่งในหลักฐานทางโบราณคดีสำคัญที่แสดงให้เห็นร่องรอยของวัฒนธรรมทวารวดีกับวัฒนธรรมอินเดียที่เข้ามามีอิทธิพลตั้งแต่ราวพุทธศตวรรษที่ 11-12 ตัวอักษร และรูปแบบการใช้ภาษาสะท้อนให้เห็นความเชื่อทางศาสนา รูปแบบการปกครอง และอิทธิพลทางวัฒนธรรมที่ถ่ายทอดกันมาในยุคโบราณ เมืองโบราณศรีเทพนี้ที่ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกทางวัฒนธรรม จากการประชุมคณะกรรมการมรดกโลกสมัยสามัญ ครั้งที่ 45 เมื่อวันที่ 19 กันยายน 2566 ที่กรุงริยาด ประเทศซาอุดีอาระเบีย มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า The Ancient Town of Si Thep and its Associated Dvaravati Monuments นวพรรณ ภัทรมูล ผู้นำเข้าข้อมูล อัปเดต 5 ต.ค. 2566 อาเซียนศึกษา พลเมืองโลกและโลกาภิวัตน์ (course syllabus) สำรวจความรู้ทางมานุษยวิทยา ประวัติศาสตร์ การเมือง เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้, จุดกำเนิด พัฒนาการ และความท้าทายของบทบาทองค์การ ASEAN และประเทศสมาชิกในบริบทโลกาภิวัตน์, ความสัมพันธ์ภายในภูมิภาค ระหว่างภูมิภาค และผลกระทบจากโลกาภิวัตน์, ผู้คน กลุ่มสังคม กลุ่มชาติพันธุ์ ในฐานะประชากรของภูมิภาคและพลเมืองโลก, ปัญหาร่วมสมัย เช่น การเคลื่อนย้าย สภาวะข้ามชาติ สิทธิมนุษยชน กระบวนการประชาธิปไตย หลักสูตรมีความมุ่งหมายให้นักศึกษาเข้าใจ อาเซียน ผู้คน สังคมและวัฒนธรรมในภูมิภาค อย่างสัมพันธ์กับความเปลี่ยนแปลงร่วมกับบริบทโลกาภิวัตน์ *หลักสูตรนี้เป็นผลผลิตจากกิจกรรมการให้ทุนสนับสนุนการพัฒนาหลักสูตรการเรียนรู้มานุษยวิทยาของศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) แก่ รองศาสตราจารย์ ดร.พิเชฐ สายพันธ์ วิสุทธิ์ เวชวราภรณ์ ผู้นำเข้าข้อมูล อัปเดต 30 พ.ย. 2566 Kali Mask (หน้ากากพระแม่กาลี) หน้ากากใบบหน้าคนอวบอ้วน เพศหญิง สวมเครื่องประดับศีรษะซึ่งร้อยด้วยกะโหลกศีรษะมนุษย์ ที่กลางหน้าผากมีสัญลักษณ์ของดวงตาที่สาม และมีเลือดไหลที่มุมปาก วิภาวดี โก๊ะเค้า ผู้นำเข้าข้อมูล อัปเดต 28 พ.ย. 2566 โบราณสถานเมืองเชียงแสน อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย เป็นอีกพื้นที่หนึ่งของไทยที่อุดมไปด้วยหลักฐานทางโบราณคดีตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ สมัยหิน สมัยโลหะ ต่อเนื่องมาจนยุคประวัติศาสตร์ ที่เด่นชัดคือ เมืองเชียงแสน เมืองโบราณริมแม่น้ำโขงของอาณาจักรล้านนา สถาปนาขึ้นในพุทธศตวรรษที่ 19 ก่อนที่จะเสื่อมโทรมลงพร้อมกับการเสื่อมอำนาจของอาณาจักรล้านนา นับตั้งแต่ พ.ศ.2500 เป็นต้นมา พื้นที่เมืองเชียงแสนเกิดความเปลี่ยนแปลงขึ้นอย่างรวดเร็ว ซึ่งเป็นผลจากปัจจัยต่างๆ โดยเฉพาะการก่อตั้งอำเภอเชียงแสน นโยบายการค้าต่างประเทศ และความพยายามผลักดันเชียงแสนเป็นมรดกโลก คอลเล็กชันนี้จึงได้รวบรวมข้อมูลประวัติศาสตร์และโบราณสถานสำคัญของเมืองเชียงแสน เพื่อเป็นประโยชน์ต่อการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ของเมืองโบราณแห่งนี้ ทนงศักดิ์ เลิศพิพัฒน์วรกุล ผู้นำเข้าข้อมูล อัปเดต 26 ก.ย. 2566 การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม: อัมพวา อัมพวา เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในภาคตะวันตกของประเทศไทยและมีสถานที่ท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมที่น่าสนใจมากมาย การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม คือกิจกรรมท่องเที่ยวที่เน้นการสำรวจและเรียนรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์ของสถานที่หรือประเทศที่คุณเยี่ยมชม รูปแบบการท่องเที่ยวนี้ให้โอกาสให้คุณได้รับความเข้าใจเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ทางวัฒนธรรม ศิลปะ ศาสนา และสิ่งอื่น ๆ ที่เป็นส่วนสำคัญของสถานที่นั้น นอกจากนี้ยังเป็นโอกาสให้คุณได้สัมผัสวัฒนธรรมและรูปแบบการดำเนินชีวิตของคนในสถานที่นั้นได้อย่างใกล้ชิด กิจกรรมท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เช่น การเยี่ยมชมวัดสำคัญ พิพิธภัณฑ์ โบราณสถาน หรือสถานที่ประวัติศาสตร์ การเข้าร่วมงานเทศกาลและพิธีกรรมท้องถิ่น การเรียนรู้เกี่ยวกับภาษาและชนิดอาหารท้องถิ่น และการสัมผัสวัฒนธรรมทางศิลปะและการแสดงที่สถานที่ที่คุณเยี่ยมชม การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมช่วยให้คุณสามารถมีประสบการณ์ที่เต็มไปด้วยความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับโลกและวัฒนธรรมที่หลากหลายได้ ดอกรัก พยัคศรี ผู้นำเข้าข้อมูล อัปเดต 5 ต.ค. 2566 เศรษฐกิจสร้างสรรค์ การท่องเที่ยว และความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กร (course syllabus) หลักสูตรนี้นำเสนอความเข้าใจด้านเศรษฐกิจสร้างสรรค์ การท่องเที่ยว และความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กร ผู้เรียนจะได้สำรวจแนวคิดหลักและหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว ผลิตภัณฑ์ทางวัฒนธรรม ความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กร ความยั่งยืน การตลาด มรดกทางวัฒนธรรม นโยบายและการวางแผน การมีส่วนร่วมของชุมชน ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม จริยธรรม และแนวโน้มที่เกิดขึ้นใหม่ ในสัปดาห์แรก เป็นการให้ภาพรวมของวัตถุประสงค์และความคาดหวังของหัวข้อ และแนะนำคำศัพท์และแนวคิดหลักเบื้องต้น สัปดาห์ต่อ ๆ ไป เป็นการเจาะลึกในหัวข้อต่าง ๆ เช่น อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว เศรษฐกิจสร้างสรรค์ ผลิตภัณฑ์ทางวัฒนธรรม และความยั่งยืนในการท่องเที่ยว ผู้เรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับผลกระทบของการท่องเที่ยวที่มีต่อชุมชนท้องถิ่น บทบาทของความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กร และความสำคัญของแนวทางปฏิบัติด้านการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน นอกเหนือจากการสำรวจแนวคิดและทฤษฎีที่สำคัญแล้ว ผู้เรียนจะได้เรียนรู้ผ่านกรณีศึกษาและตัวอย่างจากทั่วโลก ตัวอย่างเหล่านี้จะเน้นแนวปฏิบัติที่ดีที่สุด (Best practice) และความท้าทายที่เผชิญในอุตสาหกรรม ผู้เรียนจะได้รับการแนะนำให้รู้จักกับแนวโน้มการท่องเที่ยวที่เกิดขึ้นใหม่และผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากเทคโนโลยีต่ออุตสาหกรรมการท่องเที่ยวได้ *หลักสูตรนี้เป็นผลผลิตจากกิจกรรมการให้ทุนสนับสนุนการพัฒนาหลักสูตรการเรียนรู้มานุษยวิทยาของศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) แก่ อาจารย์ ดร.ปิยรัตน์ ปั้นลี้ วิสุทธิ์ เวชวราภรณ์ ผู้นำเข้าข้อมูล อัปเดต 30 พ.ย. 2566 รากษส คือ? รากษสคืออะไร คำว่า ยักษ์ อศูร และรากษส ต่างหรือเหมือนกันอย่างไร บทความนี้จะนำทุกท่านไปรู้จักกับ รากษส จากตำนาน และเรื่องเล่าต่างๆ อนันต์ สมมูล ผู้นำเข้าข้อมูล อัปเดต 17 พ.ย. 2566 อาหารในศาสนา (การ์ดเกม ผี พระ เจ้า) อาหารในศาสนา ประกอบพิธีกรรมต่างๆ ในแต่ละศาสนา อนันต์ สมมูล ผู้นำเข้าข้อมูล อัปเดต 15 ส.ค. 2566 การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม: นครชัยศรี การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมหมายถึงการเดินทางเพื่อสำรวจและเข้าใกล้กับวัฒนธรรม ประเพณี ประเทศศาสนา ประวัติศาสตร์ และวิถีชีวิตของคนในพื้นที่ที่เราไปเยี่ยมชม การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมมุ่งสู่การเข้าใจและประสบการณ์ทางวัฒนธรรมที่แตกต่างจากวัฒนธรรมของตนเอง มันเน้นการสัมผัสกับการดำเนินชีวิตของคนในท้องถิ่น การเรียนรู้เกี่ยวกับประวัติศาสตร์และประเพณี การเข้าร่วมกิจกรรมท้องถิ่น และการพบปะกับความหลากหลายทางวัฒนธรรม การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมไม่ได้เน้นเพียงแค่การเยี่ยมชมสถานที่ท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียง แต่เป็นการผสมผสานกิจกรรมที่ช่วยให้ผู้เข้าร่วมสามารถติดต่อกับคนในท้องถิ่นและแบบสัมผัสได้ใกล้ชิด อาจเป็นการเรียนรู้การทำอาหารท้องถิ่น การทำงานศิลปะ การเข้าร่วมเทศกาลท้องถิ่น หรือการศึกษาสถานที่ทางวัฒนธรรมอื่นๆ ที่น่าสนใจ ผู้ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมมักจะมีแนวโน้มที่จะมองหาประสบการณ์ที่น่าสนใจและแตกต่างจากการท่องเที่ยวทั่วไป เพื่อให้ได้รับความรู้และความเข้าใจที่ลึกซึ้งเกี่ยวกับวัฒนธรรมและแบบชีวิตของคนในท้องถิ่นที่เยี่ยมชมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในอำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม เป็นการสำรวจวัฒนธรรมและประเพณีท้องถิ่นที่น่าสนใจ เน้นให้คุณได้รับรู้และเข้าใจเกี่ยวกับไลฟ์สไตล์และวิถีชีวิตของชุมชนที่นี่ นี่คือบางสิ่งที่คุณอาจพบระหว่างการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในอำเภอนครชัยศรี ดอกรัก พยัคศรี ผู้นำเข้าข้อมูล อัปเดต 5 ต.ค. 2566 พหุวัฒนธรรมและชาติพันธุ์สัมพันธ์ (course syllabus) ผู้คนในสังคมล้วนแล้วแต่มีความแตกต่างและหลากหลายทางวัฒนธรรม เป็นต้นว่า ศาสนา ลัทธิความเชื่อ เพศสภาพ วัย อาชีพ ภาษา การแต่งกาย พฤติกรรมการบริโภคอาหาร เชื้อชาติ ชาติพันธุ์ ฯลฯ ในระดับของชีวิตประจำวัน การได้เรียนรู้ถึงความหลากหลายทางวัฒนธรรมย่อมนำมาซึ่งการเข้าใจคนต่างวัฒนธรรมและก่อให้เกิดการเคารพในความแตกต่างของผู้คนในสังคมที่เราต้องปฏิสัมพันธ์ด้วยในชีวิตประจำวัน ไม่ก่อให้เกิดอคติและความขัดแย้งระหว่างผู้คนกลุ่มวัฒนธรรมต่างๆ ส่วนในระดับนโยบาย สามารถนำไปสู่การกำหนดเป็นนโยบายพหุวัฒนธรรมนิยม (multiculturalism) อันจะก่อให้เกิดผลดีต่อสังคมและประเทศชาติโดยรวม หากเทียบกับกลุ่มทางวัฒนธรรมอื่นๆ ในสังคมไทย กลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ เป็นกลุ่มที่ค่อนข้างจะมีความโดดเด่น เพราะแต่ละกลุ่มชาติพันธุ์มีชื่อเรียก มีลักษณะเฉพาะทางวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์เป็นของตนเอง ซึ่งแตกต่างจากกลุ่มชาติพันธุ์อื่น ประการสำคัญคือการปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้คนในกลุ่มชาติพันธุ์เดียวกัน ระหว่างกลุ่มชาติพันธุ์ รวมถึงความสัมพันธ์ที่มีกับรัฐชาติหรือบริบทอื่นนำมาซึ่งข้อถกเถียงเชิงวิชาการในมิติของชาติพันธุ์สัมพันธ์ (ethnicity) ดังนั้น การเรียนรู้หัวข้อพหุวัฒนธรรมและชาติพันธุ์สัมพันธ์จึงมีความสำคัญอย่างยิ่งในการศึกษาทางด้านสังคมศาสตร์ โดยเฉพาะสาขามานุษยวิทยา *หลักสูตรนี้เป็นผลผลิตจากกิจกรรมการให้ทุนสนับสนุนการพัฒนาหลักสูตรการเรียนรู้มานุษยวิทยาของศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) แก่ รองศาสตราจารย์ ดร.ประสิทธิ์ ลีปรีชา วิสุทธิ์ เวชวราภรณ์ ผู้นำเข้าข้อมูล อัปเดต 29 พ.ย. 2566 รู้จัก "มานิ" เนื้อหาอ่านง่ายเพื่อทำความรู้จักและเข้าใจ มานิ กลุ่มชาติพันธุ์กลุ่มหนึ่งในประเทศไทย (จัดทำโดย สุดารัตน์ ศรีอุบล) ทนงศักดิ์ เลิศพิพัฒน์วรกุล ผู้นำเข้าข้อมูล อัปเดต 15 พ.ย. 2566 การ์ดเกมผี พระ เจ้า (Faith Factors) “ผี – พระ – เจ้า” เป็นเกมที่ ศมส. พัฒนาขึ้นเพื่อชวนผู้เล่นลองใช้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับศาสนา เป็นกลยุทธ์ในการสะสมลักษณะร่วมทางวัฒนธรรม เช่น สัญลักษณ์ วิถีปฏิบัติ สถานที่ อาหาร เครื่องแต่งกาย ผู้คน และวันสำคัญของศาสนาต่างๆ ในสังคมของเรา ผู้คนล้วนอยู่ร่วมกันภายใต้ความแตกต่างหลากหลาย ผู้เล่นอย่างเราก็เหมือนสมาชิกในสังคมที่ต้องประสบพบเจอผู้คนมากหน้าหลายตา หลายศาสนา หลายความเชื่อ ถ้าคุณเป็นคนช่างสังเกต อยากชวนคุณมาลองใช้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับศาสนา เป็นกลยุทธ์ในการสะสมลักษณะร่วมทางวัฒนธรรม ที่ผูกโยงสังคมเข้าไว้ด้วยกัน แล้วชวนถกกันว่า “ในสังคมที่มีความหลากหลาย เรามักจะเห็นความเหมือนหรือความต่างมากกว่ากัน” วรินกานต์ ศรีชมภู ผู้นำเข้าข้อมูล อัปเดต 24 พ.ค. 2566 เมืองประวัติศาสตร์เชียงแสน นำเสนอความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับประวัติศาสตร์เชียงแสนยุคต่าง ๆ ทั้งที่เป็นเรื่องราวในตำนานที่มีถึง 3 ตำนวน และเรื่องราวในประวัติศาสตร์ จรรยา ยุทธพลนาวี ผู้นำเข้าข้อมูล อัปเดต 5 ต.ค. 2566 จิตวิทยาสังคม ชุมชน และพฤติกรรมศาสตร์ (course syllabus) การศึกษาพฤติกรรมของมนุษย์ในสังคมนับว่ามีความสำคัญอย่างยิ่ง เพราะมนุษย์จำเป็นต้องดำเนินชีวิตอยู่ในสังคม ไม่ว่าจะเป็นครอบครัว โรงเรียน มหาวิทยาลัย สถานที่ทำงาน หรือกลุ่มทางสังคมต่าง ๆ สิ่งที่มักจะพบเห็นกันโดยทั่วไปก็คือ เมื่อมนุษย์อยู่ในสังคมมักแสดงพฤติกรรมต่าง ๆ ที่แตกต่างจากเมื่ออยู่ลำพังเพียงคนเดียว สาเหตุสำคัญก็เนื่องมาจากอิทธิพลของสังคมซึ่งมีพลังในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของมนุษย์ ดังนั้น การทำความเข้าใจถึงพฤติกรรมทางสังคมของมนุษย์ จึงมีประโยชน์อย่างยิ่งในการดำเนินชีวิต หลักสูตร จิตวิทยาสังคม ชุมชน และพฤติกรรมศาสตร์ มุ่งเน้นการนำเสนอองค์ความรู้ในลักษณะบูรณาการศาสตร์เพื่อช่วยในการเรียนรู้และทำความเข้าใจการแสดงออกพฤติกรรมของมนุษย์ในฐานะที่เป็นปัจเจกบุคคลและสมาชิกลุ่มสังคม ขยายความรู้เกี่ยวกับกระบวนการอบรมเรียนรู้และการขัดเกลาทางสังคมของพฤติกรรมเกิดจากวัฒนธรรม โลกท้องถิ่น สถานการณ์ทางสังคม ประวัติศาสตร์ และความสัมพันธ์เชิงอำนาจในชีวิตประจำวัน นำเสนอแนวคิดคำอธิบายและกรณีศึกษาการแสดงพฤติกรรมในโลกออนไลน์ และแนวคิดทางเลือกเพื่อช่วยตีความพฤติกรรมเบี่ยงเบนทางสังคมที่ไม่ได้จำกัดอยู่แค่การมองว่าเป็นพฤติกรรมการแสดงออกของคนที่หลงผิด แต่เป็นยุทธวิธีการต่อต้านขัดขืนต่ออำนาจของคนชายขอบและด้อยอำนาจในสังคม รวมทั้งนำเสนอแนวทางการศึกษาพฤติกรรมเชิงบูรณาการศาสตร์ *หลักสูตรนี้เป็นผลผลิตจากกิจกรรมการให้ทุนสนับสนุนการพัฒนาหลักสูตรการเรียนรู้มานุษยวิทยาของศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) แก่ อาจารย์ ดร.ประชาธิป กะทา วิสุทธิ์ เวชวราภรณ์ ผู้นำเข้าข้อมูล อัปเดต 29 พ.ย. 2566 สังเขปประวัติผู้ครองเมืองพะเยา ภูกามยาว หรือ พยาว เป็นชื่อเดิมของจังหวัดพะเยา หลักฐานชื่อเมืองพะเยาเก่าแก่ที่สุดปรากฎในจารึกวัดศรีชุม (จารึกสุโขทัยหลักที่ 2) ด้านที่ 1 บรรทัดที่ 14 พยาว (ภาพปกจาก https://www.chiangmainews.co.th/page/archives/990654#google_vignette) ทนงศักดิ์ เลิศพิพัฒน์วรกุล ผู้นำเข้าข้อมูล อัปเดต 19 ต.ค. 2566 แหล่งโบราณคดีในเกาะรัตนโกสินทร์ แหล่งโบราณคดีสำคัญที่ตั้งอยู่ภายในคลองคูเมืองของกรุงรัตนโกสินทร์ ทนงศักดิ์ เลิศพิพัฒน์วรกุล ผู้นำเข้าข้อมูล อัปเดต 29 มี.ค. 2566 การจัดการข้อมูลเอกสารโบราณในรูปแบบดิจิทัล (Learning Tool Kit) "ฐานข้อมูลเอกสารโบราณภูมิภาคตะวันตกในประเทศไทย" เห็นอุปสรรคของเครือข่ายวัดและสถาบันทางวัฒนธรรม เช่น พิพิธภัณฑ์ ที่มีวัตถุสะสมคือเอกสารโบราณเป็นจำนวนมาก ซึ่งเอกสารเหล่านั้นมีเนื้อหาที่ทรงคุณค่า ถือเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นอันสำคัญ สามารถนำไปพัฒนาให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม เช่น ตำรายา ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น วรรณกรรมท้องถิ่น ธรรมคดี แต่ยังไม่สามารถจัดการและนำไปใช้ประโยชน์ต่อได้ อันเนื่องมาจากขาดการอนุรักษ์เชิงกายภาพ การสำรวจและทำทะเบียนเพื่อให้ทราบจำนวนและประเภทข้อมูล ทำให้เข้าถึงเนื้อหาเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ต่อเป็นไปด้วยความลำบาก ซึ่งวัดและสถาบันทางวัฒนธรรมหลายแห่งพยายามติดต่อให้ศูนย์ฯ เข้าไปทำสำเนาดิจิทัลเอกสารโบราณเหล่านั้นฐานข้อมูลเอกสารโบราณภูมิภาคตะวันตกในประเทศไทย จึงจัดทำชุดการเรียนรู้พร้อมใช้ เรื่อง การจัดการเอกสารโบราณ (Learning Tool Kit) สำหรับกลุ่มเป้าหมายดังกล่าวที่สามารถใช้และเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง เป็นการส่งเสริมและสนับสนุนการเรียนรู้ด้านการจัดการมรดกวัฒนธรรมของท้องถิ่นโดยเครือข่ายที่เป็นเจ้าของวัฒนธรรม ตั้งแต่ขั้นตอนการสำรวจไปจนถึงการจัดการสู่ระบบดิจิทัล ทนงศักดิ์ เลิศพิพัฒน์วรกุล ผู้นำเข้าข้อมูล อัปเดต 5 ต.ค. 2566 คนชายขอบ (course syllabus) เนื้อหาของหลักสูตร คนชายขอบ (marginalized people) จัดทำขึ้นเพื่อทำความเข้าใจ คนชายขอบ หรือกล่าวให้ชัดเจนว่า คนที่ถูกทำให้เป็นคนชายขอบในสังคมไทย เพื่อให้ผู้เรียนทำความเข้าใจถึงคนกลุ่มต่างๆ ในสังคมไทยที่มีความแตกต่างทางด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ศาสนา เพศ ช่วงวัย ฯลฯ แต่ความแตกต่างเหล่านั้นถูกให้คุณค่าความหมายว่าเป็นบุคคลที่สถานะด้อยกว่าคนอื่นๆ ในสังคม นำไปสู่ถูกเลือกปฏิบัติหรือถูกกีดกันจากการมีส่วนร่วมในระบบเศรษฐกิจสังคมการเมือง ตลอดจนสิทธิในการเข้าถึงทรัพยากร เริ่มต้นด้วยการทำความเข้าใจ มโนทัศน์การเป็นชายขอบ (marginality) จากสำนักชิคาโก (Chicago School) ที่เน้นความแปลกแยกทางวัฒนธรรมของผู้อพยพย้ายถิ่น มาสู่ความสนใจการทำให้เป็นชายขอบ (marginalization) เพื่อชี้ให้เห็นถึงมิติด้านอำนาจที่สัมพันธ์กับระบบเศรษฐกิจการเมืองและวัฒนธรรม เช่น กระบวนการพัฒนา การสร้างรัฐชาติ โลกาภิวัฒน์ ฯลฯ ที่ทำให้คนหลายกลุ่มถูกทำให้เป็นคนชายขอบ เช่น กลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ กลุ่มคนชายขอบในบริบทของเมือง แรงงานข้ามถิ่น ผู้มีความหลากหลายทางเพศ ความแตกต่างทางช่วงวัยที่นำไปสู่อคติต่อกัน ฯลฯ นอกจากนี้ เนื้อหาจะได้เรียนรู้ การตอบโต้ของคนชายขอบ เพื่อเรียกคืนศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ และการอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างเข้าใจความหลากหลายทางสังคมวัฒนธรรม *หลักสูตรนี้เป็นผลผลิตจากกิจกรรมการให้ทุนสนับสนุนการพัฒนาหลักสูตรการเรียนรู้มานุษยวิทยาของศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) แก่ รองศาสตตราจารย์ ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา วิสุทธิ์ เวชวราภรณ์ ผู้นำเข้าข้อมูล อัปเดต 23 พ.ย. 2566 Fua Haribhitak Fua Haribhitak's life history. จรรยา ยุทธพลนาวี ผู้นำเข้าข้อมูล อัปเดต 10 ต.ค. 2566 งานภาคสนามชุมชนไทยทรงดำบ้านหัวเขาจีน อ.ปากท่อ จ.ราชบุรี รายงานบันทึกภาคสนามของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ คณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์ ระหว่างวันที่ 11 - 14 สิงหาคม พ.ศ. 2566 Worapon Sirichuenvichit ผู้นำเข้าข้อมูล อัปเดต 5 ต.ค. 2566 การพัฒนา นิเวศวัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม (course syllabus) ในช่วงกว่าครึ่งศตวรรษที่ผ่านมา สังคมแทบทุกส่วนของโลกได้รับผลกระทบจากแนวคิดและปฏิบัติการของการพัฒนา (development) ในรูปแบบต่างๆ ทั้งในเชิงเศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรม และการจัดความสัมพันธ์ในการดำรงชีวิต การพัฒนาได้กลายมาเป็นหนึ่งในประเด็นหลักในวิชามานุษยวิทยาในการศึกษาทำความเข้าใจการเปลี่ยนแปลงทางสังคมตลอดจนผลกระทบต่อผู้คนและระบบนิเวศของโลก หัวข้อการศึกษานี้มุ่งทำความเข้าใจระบอบแนวคิด ข้อถกเถียง ปฏิบัติการ และผลกระทบจากการพัฒนาผ่านมุมมองทางมานุษยวิทยา รวมไปถึงข้อเสนอใหม่ ๆ ว่าด้วยแนวคิดหลังการพัฒนาและโลกหลังมนุษยนิยมที่ซึ่งวิถีของการดำรงชีวิตภายใต้กระแสการพัฒนาถูกท้าทาย ตั้งคำถาม และถูกแทนที่ด้วยข้อเสนอว่าด้วยโลกและแนวทางการดำรงอยู่ร่วมกับสรรพสิ่งที่หลากหลายและละเอียดอ่อนมากขึ้นหัวข้อการศึกษานี้จะครอบคลุมประเด็นว่าด้วยบริบททางเศรษฐกิจการเมืองที่นำมาสู่แนวคิดและปฏิบัติการการพัฒนาโดยเฉพาะในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นต้นมา รูปแบบและวาทกรรมการพัฒนากระแสหลัก (mainstream development) ที่เชื่อมโยงกับการพัฒนาเศรษฐกิจและแนวคิดทุนนิยมเสรี พัฒนาการและข้อเสนอว่าด้วยแนวทางการพัฒนาทางเลือก (alternative developments) ผลกระทบจากการพัฒนาในมิติสำคัญ เช่น อุตสาหกรรมที่นำทรัพยากรธรรมชาติมาใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิต (extractive industries) ผลกระทบต่อระบบนิเวศและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ผลกระทบต่อชุมชนท้องถิ่นโดยเฉพาะต่อสิทธิ นิเวศวัฒนธรรม และภูมิปัญญาของกลุ่มชาติพันธุ์และชนพื้นเมือง การเกิดขึ้นของความเป็นเมือง รวมไปถึงสภาวะของความผันผวนและความท้าทายที่เกิดขึ้นจากสภาวะการพัฒนาในมนุษยสมัย (Anthropocene) ซึ่งนำไปสู่การตั้งคำถามและความพยายามในการข้ามพ้นการเอามนุษย์เป็นศูนย์กลางของการพัฒนา (posthumanism) รวมไปถึงระบบโลกที่มีมาตรฐานแนวทางการพัฒนาในรูปแบบเดียว ในส่วนท้ายของหัวข้อนี้จะเป็นการมุ่งไปสู่การแสวงหาความเป็นไปได้ใหม่ ๆ ในการประกอบสร้างโลกในรูปแบบอื่นๆ ที่ซึ่งโลกหลากหลายแบบทั้งมนุษย์และสิ่งที่ไม่ใช่มนุษย์สามารถดำรงอยู่ร่วมกันได้ (pluriverse) ตลอดจนการเมืองและภววิทยาของการอยู่ร่วมกับสิ่งต่าง ๆ ในโลกใบนี้ (cosmopolitics) *หลักสูตรนี้เป็นผลผลิตจากกิจกรรมการให้ทุนสนับสนุนการพัฒนาหลักสูตรการเรียนรู้มานุษยวิทยาของศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) แก่ รองศาสตราจารย์ ดร.จักรกริช สังขมณี วิสุทธิ์ เวชวราภรณ์ ผู้นำเข้าข้อมูล อัปเดต 23 พ.ย. 2566 เรื่องราวของ เฟื้อ หริพิทักษ์ ประวัติชีวิตของอาจารย์เฟื้อ หริพิทักษ์ จรรยา ยุทธพลนาวี ผู้นำเข้าข้อมูล อัปเดต 26 ก.ย. 2566 จารึกพบที่เมืองโบราณศรีเทพ พื้นที่ของเมืองโบราณศรีเทพที่มีการตั้งเป็นอุทยานประวัติศาสตร์ศรีเทพนั้น นับเป็นแหล่งอารยธรรมที่สำคัญแห่งหนึ่งที่ปรากฎร่องรอยหลักฐานซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงการตั้งถิ่นฐานอยู่อาศัยของมนุษย์ที่มีมาอย่างต่อเนื่องนับตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ศิลาจารึกที่พบในบริเวณเมืองโบราณศรีเทพนี้ก็เป็นหนึ่งในหลักฐานทางโบราณคดีสำคัญที่แสดงให้เห็นร่องรอยของวัฒนธรรมทวารวดีกับวัฒนธรรมอินเดียที่เข้ามามีอิทธิพลตั้งแต่ราวพุทธศตวรรษที่ 11-12 ตัวอักษรและรูปแบบการใช้ภาษาสะท้อนให้เห็นความเชื่อทางศาสนา รูปแบบการปกครอง และอิทธิพลทางวัฒนธรรมที่ถ่ายทอดกันมาในยุคโบราณ นวพรรณ ภัทรมูล ผู้นำเข้าข้อมูล อัปเดต 4 เม.ย. 2566 อบรมการอนุรักษ์เอกสารโบราณเบื้องต้น และการจัดการเอกสารโบราณสู่ดิจิทัล เอกสารโบราณประเภทสมุดไทย ใบลาน สมุดข่อย พับสา และสมุดฝรั่ง นับเป็นเอกสารประวัติศาสตร์ประเภทหนึ่ง ที่บรรจุมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของคนในอดีต ทั้งโลกคดีและธรรมคดี เช่น หลักธรรมคำสอนทางพระพุทธศาสนา ประวัติศาสตร์ พงศาวดาร กฎหมายโบราณ โหราศาสตร์ ตำรายา คาถาอาคม วรรณกรรม ตำนาน เรื่องเล่าพื้นบ้าน ฯลฯ ส่วนใหญ่แล้วเอกสารโบราณเหล่านี้คนในชุมชนท้องถิ่นเป็นผู้จารขึ้น ต่างจากศิลาจารึก พงศาวดาร และจดหมายเหตุ ที่มักบันทึกโดยรัฐบาลส่วนกลางหรือชนชั้นผู้ปกครอง และมักกล่าวถึงเรื่องสำคัญที่เกิดขึ้นในรัฐชาตินั้น ๆ ดังนั้น เอกสารโบราณจึงเป็นเอกสารสำคัญที่ทำให้เห็นเรื่องราวในอดีตผู้คนในระดับชุมชนท้องถิ่น ทั้งประวัติศาสตร์ ความเชื่อ ข้อมูลความรู้ ความรู้สึกนึกคิด ฯลฯ สะท้อนถึงความหลากหลายทางวัฒนธรรมของแต่ละชุมชนได้เป็นอย่างดี ปัจจุบันสังคมได้ตระหนักถึงคุณค่าและความสำคัญของเอกสารโบราณเหล่านี้มากขึ้นอย่างเห็นได้ชัด ทั้งเพื่อต้องการอนุรักษ์สิ่งเหล่านี้ไว้ให้คงอยู่ ส่งต่อและสืบทอดทั้งตัววัตถุคือตัวเอกสาร และมรดกภูมิปัญญาที่อยู่ในเอกสารโบราณ มิให้สูญหายไปตามกาลเวลา โดยเฉพาะในยุคสมัยปัจจุบันที่องค์ความรู้ท้องถิ่นได้รับความสนใจและผลักดันทั้งในเชิงข้อมูลความรู้ระดับจุลภาค และนำไปพัฒนาเป็นทุนทางวัฒนธรรมเพื่อการใช้ประโยชน์ต่อยอด เช่น การนำเอายาสมุนไพรจากตำรายาพื้นบ้าน มาศึกษาวิเคราะห์ด้วยการแพทย์สมัยใหม่จนพัฒนาออกมาเป็นผลิตภัณฑ์ หรือการพัฒนาชุดอักษรคอมพิวเตอร์ขึ้นจากตัวอักษรโบราณ เพื่อใช้งานในเอกสารดิจิทัล เพื่อใช้ประกอบในงานออกแบบสินค้า ผลิตภัณฑ์ และสถานที่ท่องเที่ยวต่าง ๆ ของท้องถิ่น เป็นต้น ถึงแม้ว่าสังคมจะได้ตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของเอกสารโบราณ แต่การสำรวจ การอนุรักษ์เอกสารโบราณก็ยังไม่เดินหน้าเท่าที่ควร ทั้งนี้เป็นเพราะยังขาดบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถในการจัดการ เนื่องจากเอกสารโบราณเป็นเอกสารที่มีความเฉพาะตัวทั้งในด้านตัวอักษรและภาษาที่ใช้บันทึกที่ใช้อักษรและอักขรวิธีแบบโบราณต่างจากปัจจุบัน ด้านวัสดุบันทึกที่มีความเปราะบางเนื่องจากเป็นวัสดุที่ทำจากธรรมชาติทั้งสิ้น เช่น ใบลาน กระดาษข่อย กระดาษสา เป็นต้น ดังนั้นหากจะต้องเร่งอนุรักษ์และฟื้นฟูเอกสารโบราณจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องสร้างบุคลากรที่มีความรู้ความเข้าใจในระดับที่ปฏิบัติการได้ให้มากขึ้นเพื่อให้เท่าทันการสูญหายและสูญสลายของเอกสารโบราณไปตามกาลเวลา ดอกรัก พยัคศรี ผู้นำเข้าข้อมูล อัปเดต 17 พ.ย. 2566 อาหารในศาสนา (การ์ดเกม ผี พระ เจ้า) ศาสนาทุกศาสนามีเรื่องเล่าเกี่ยวกับเรื่องอาหารต่างๆ นานา ทั้งอาหารมงคล อาหารต้องห้าม ในคัมภีร์ปฐมกาลของยูดาห์ คริสต์และอิสลาม มนุษย์ผู้ไม่ต้องเพาะปลูกถูก “ล่อลวง” ด้วย “อาหาร” พญางูส่งผลไม้ซึ่งฝรั่งเล่ากันว่าคือแอปเปิ้ล คริสต์ศาสนายุคกลางมองว่าการหมกมุ่นอยู่กับการกินหรือ “ความตะกละ” นั้น เป็นหนึ่งในบาปเจ็ดประการ และการกินที่มากหรือประณีตเกินไปเป็นการเอาใจใส่ต่อ “ชีวิตทางเนื้อหนัง” มากกว่า “ชีวิตฝ่ายจิต” ศาสนิกแนบชิดสนิทกับพระเจ้าผ่านการกินเลี้ยงของ “ศีลมหาสนิท” แผ่นปังอบแผ่นเล็กสื่อถึงพระวรกายของพระเยซู และเหล้าองุ่นคือโลหิตที่หลั่งออกเพื่อไถ่โลกการกินดื่มพระวรกายและพระโลหิต เท่ากับรับพระเป็นเจ้าเข้ามาทางกายแต่เกิดผลทางใจ คือเป็นอาหารที่หล่อเลี้ยงใจมากกว่ากาย ศาสนากลุ่มอับราฮัม (คือ ยูดาย คริสต์และอิสลาม) จึงมีข้อห้ามเรื่องอาหารมากมาย เช่น ไม่กินหมู ไม่กินเลือดสัตว์ เพื่อต้องการ “ความบริสุทธิ์” ของกายใจ แต่หากมองจากมุมประวัติศาสตร์ คือความพยายามสร้าง “อัตลักษณ์” ของตน ที่แตกต่างจากศาสนาอื่นๆ หรือศาสนาเดิมที่เป็นปฏิปักษ์กัน ศาสนาจากอินเดีย คือฮินดู พุทธและไชนะ มีกฏเกณฑ์ด้านอาหารที่ซับซ้อนยิ่งขึ้น ศาสนาเหล่านี้ซึ่งมุ่งเน้นการสละ ละ การกินโดยปราศจากหลักทางศีลธรรมก็อาจนำมนุษย์ไปสู่ความยึดติดมากขึ้น ชาวฮินดูมีคำสอนในอุปนิษัทว่า “อนฺนํ พฺรหเมติ” หมายความว่า “อาหารคือพระเจ้า” หรืออาหารคือสัจธรรม เพราะโลกทั้งโลกนี้เองคืออาหาร และตัวเราเองก็เป็นอาหาร นอกจากนี้มนุษย์ยังใช้อาหารในพิธีกรรมทุกชนิด อาหารดำรงอยู่ในฐานะเครื่องพลีบวงสรวงที่สำคัญที่สุด ซึ่งแม้จะล่วงมานับพันนับหมื่นปี ความหมายนี้ก็ยังดำรงอยู่ อนันต์ สมมูล ผู้นำเข้าข้อมูล อัปเดต 4 ก.ย. 2566 พิพิธภัณฑ์เครื่องปั้นดินเผา ศมส. รวบรวมข้อมูลการจัดแสดงในพิพิธภัณฑ์เครื่องปั้นดินเผา ของศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) เขตตลิ่งชััน กรุงเทพฯ ทนงศักดิ์ เลิศพิพัฒน์วรกุล ผู้นำเข้าข้อมูล อัปเดต 17 พ.ย. 2566 ศาสนาพราหม์ (การ์ดเกม ผี พระ เจ้า) ศาสนาพรามหณ์ – ฮินดูเกิดขี้นในอินเดีย มีอายุมากกว่าพระพุทธศาสนาประมาณ 900 ถึง 1000 ปี จึงจัดเป็นศาสนาที่เก่าแก่ว่าบรรดาศาสตาทั้งหลายที่มีผู้นับถืออยู่ในปัจจุบัน มีลักษณะเป็นศาสนาพหุเทวนิยม ศาสนานี้แบ่งชนชาติอินเดียออกเป็น ๔ วรรณะ ได้แก่ พราหมณ์ กษัตริย์ แพศย์ ศูทร พราหมณ์ มีหน้าที่เป็นครูอาจารย์ เป็นปราชญ์ ซึ่งเปรียบเสมือนศีรษะที่เป็นบ่อเกิดความคิดสติปัญญา กษัตริย์มีหน้าที่ปกครองป้องกันประเทศ เปรียบเสมือนอก ซึ่งเป็นบ่อเกิดแห่งกำลัง คือ กำลังแห่งสังคม แพศย์ หมายถึง พวกพ่อค้า ชาวไร่ ชาวนา เปรียบเสมือนขา ซึ่งเป็นส่วนที่ทรงร่างกายไว้ พวกนี้ควบคุมการเศรษฐกิจของชาติไว้ในกำมือ และศูทร หมายถึง ผู้ทำสังคมให้เคลื่อนที่ก้าวหน้าในการงานทั้งปวง ซึ่งเปรียบเสมือนเท้า โดยเหตุที่พราหมณ์มีหน้าที่เป็นครู อาจารย์ ความรู้ที่ได้รับจากพราหมณ์ จึงเรียกว่า ศาสนาพราหมณ์ ศาสนานี้ไม่มีศาสดาผู้ให้กำเนิดเหมือนพระพุทธศาสนา หรือคริสต์ศาสนา แต่ถือเทพเจ้าเป็นที่เคารพสักการะ ๓ องค์ด้วยกัน คือ พระพรหม พระนารายณ์ และพระอิศวร พราหมณ์มีหน้าที่สั่งสอนศิลปวิทยา ทำพิธีกรรมต่างๆ และเป็นผู้รับทักษิณา คือ เมื่อมีผู้ให้สิ่งของแก่คนตายซึ่งเรียกว่า บรรพบุรุษ พราหมณ์เป็นผู้รับสิ่งของนั้น และต้อง ทำตามพิธี ถือว่าบรรพบุรุษได้ของนั้นแล้ว ผู้ที่มิใช่พราหมณ์สอนใครไม่ได้ รับทักษิณาไม่ได้ เด็กในวรรณะพราหมณ์ กษัตริย์ และแพศย์ จะต้องไปเข้าโรงเรียนพราหมณ์ ก่อนรับการศึกษา พราหมณ์จะเสกมนตร์ลงที่ตัวเด็กนักเรียน และเอาด้ายสายสิญจน์ คล้องคอเฉวียงบ่าให้ เสร็จพิธีแล้วจึงเริ่มศึกษาได้ ด้ายสายสิญจน์นี้ พราหมณ์ไทยเรียก สายธุรำ พราหมณ์ฮินดูเรียก ยัชโญปวีต ต่อมา ศาสนาพราหมณ์ของชาวอินเดียปัจจุบันนี้เปลี่ยนชื่อมาเรียกว่า ศาสนาฮินดู ทั้งนี้ ก็เพราะว่า เมื่อศาสนาขยายตัวกว้างขวางออกไป ก็มีความแปรปรวนไปบ้างเป็นธรรมดา เกิดมีลัทธิประเพณีแปลกๆ ขึ้น แต่ชาวฮินดูก็คงนับถือพระเวท พระคัมภีร์อื่นๆ อย่างเดียวกับพวกพราหมณ์เดิมเหมือนกัน อนันต์ สมมูล ผู้นำเข้าข้อมูล อัปเดต 12 ก.ค. 2566 Reportage Sketching in Current งานสเก็ตช์ภาพรายงานเหตุการณ์สังคม การเมือง วัฒนธรรม ในสถานที่จริง เอกภพ สิทธิวรรณธนะ ผู้นำเข้าข้อมูล อัปเดต 17 พ.ย. 2566 สัญลักษณ์ (การ์ดเกม ผี พระ เจ้า) สิ่งที่ใช้แทนความหมายของอีกสิ่งหนึ่ง วิภาวดี โก๊ะเค้า ผู้นำเข้าข้อมูล อัปเดต 11 ก.ค. 2566 วัสดุและอุปกรณ์ในการทำผ้าบาติก งานบาติกจัดว่าเป็นศิลปหัตถกรรมแขนงหนึ่งที่ได้รับการสืบทอดทางภูมิปัญญา เป็นงานฝีมือที่มีคุณค่า มีความงาม เป็นเอกลักษณ์ ในปัจจุบันงานบาติกนี้ได้มีบทบาทสำคัญในการสร้างอาชีพ สร้างรายได้ สร้างผลิตภัณฑ์ที่มีประโยชน์ใช้สอยจนเป็นที่ยอมรับของท้องถิ่นและระดับประเทศ นวพรรณ ภัทรมูล ผู้นำเข้าข้อมูล อัปเดต 17 พ.ย. 2566 อิสลาม (การ์ดเกม ผี พระ เจ้า) ศาสนาอิสลาม เป็นศาสนาเอกเทวนิยมและศาสนาอับราฮัม บัญญัติไว้ในคัมภีร์อัลกุรอาน คัมภีร์ศักดิ์สิทธิ์ของอิสลามซึ่งสาวกถือว่าเป็นพระวจนะคำต่อคำของพระเป็นเจ้า และสำหรับสาวกส่วนใหญ่ เป็นคำสอนและตัวอย่างเชิงบรรทัดฐาน ของมุฮัมมัด เป็นศาสดา องค์สุดท้ายของพระเป็นเจ้า สาวกของศาสนาอิสลาม เรียกว่า มุสลิม วิภาวดี โก๊ะเค้า ผู้นำเข้าข้อมูล อัปเดต 11 ก.ค. 2566 ภาพถ่ายกลุ่มชาติพันธุ์ การศึกษาทางด้านชาติพันธุ์ให้ความสำคัญอย่างยิ่งในด้านชาติพันธุ์สภาวะ (Ethnicity) เพราะเป็นสิ่งที่ช่วยชี้ให้เห็นคุณสมบัติทางชาติพันธุ์ที่กลุ่มสังคมต่างๆ พยายามค้นหาและอธิบายสถานะตัวตนทางสังคมของตน คำอธิบายดังกล่าวเกิดขึ้นโดยมีเงื่อนไขของบริบทเป็นองค์ประกอบสำคัญ บริบทต่างๆ เหล่านั้นมีผลต่อการสร้างคำอธิบายตัวตนและฐานะทางชาติพันธุ์ทั้งจากมุมมองของคนนอกและคนใน วรินกานต์ ศรีชมภู ผู้นำเข้าข้อมูล อัปเดต 15 พ.ย. 2566 สถานที่ (การ์ดเกม ผี พระ เจ้า) สถานที่ น. ที่ตั้ง, แหล่ง, เช่น สถานที่ประกอบพิธีทางศาสนา (พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๕๔) วรินกานต์ ศรีชมภู ผู้นำเข้าข้อมูล อัปเดต 11 ก.ค. 2566 นิทรรศการช่างคิด ช่างทำ ข้อมูลวัตถุจัดแสดงในนิทรรศการช่างคิด ช่างทำ จัดแสดงที่ ชั้น 2 ศูนย์มานุษยวิทยาสิีินธร (องค์การมหาชน) นิทรรศการช่างคิด ช่างทำ จัดแสดงข้าวของ เครื่องมือ เครื่องใช้ที่แสดงให้เห็นวัฒนธรรมการสร้างสรรค์ของมนุษย์ จรรยา ยุทธพลนาวี ผู้นำเข้าข้อมูล อัปเดต 15 พ.ย. 2566 ทั่วไป (การ์ดเกม ผี พระ เจ้า) ธรรมดา ๆ เช่น โดยเหตุผลทั่ว ๆ ไป, ไม่จำกัด เช่น ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์เป็นกฎหมายทั่วไป ใช้กับทุกคน, ส่วนใหญ่, ส่วนมาก, เช่น คนทั่ว ๆ ไป สุวิดา ภัทรพลกุล ผู้นำเข้าข้อมูล อัปเดต 11 ก.ค. 2566 Book Review รวบรวมรายการ Book Review ที่น่าสนใจจากวารสารชั้นนำทางมานุษยวิทยาา จรรยา ยุทธพลนาวี ผู้นำเข้าข้อมูล อัปเดต 15 พ.ย. 2566 คน (การ์ดเกม ผี พระ เจ้า) มนุษย์เป็นสัตว์สังคม (Human being is social animal) เพราะมีการอาศัยอยู่ร่วมกันอย่างมีหมวดหมู่ มิได้มีชีวิตอยู่เพียงคนเดียวตามลำพังแต่อย่างใด เนื่องจากมนุษย์ต้องทำกิจกรรมร่วมกันอยู่ตลอดเวลา ต้องพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน ปริยฉัตร เวทยนุกูล ผู้นำเข้าข้อมูล อัปเดต 8 ก.ค. 2566 แนวคิดใหม่ในทฤษฎีมานุษยวิทยา แนะนำแนวคิดสำคัญในกระแสมานุษยวิทยาพันมนุษย์และการหันมาหาภววิทยา (ontological turn) โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์ ผู้นำเข้าข้อมูล อัปเดต 15 พ.ย. 2566 วิถีปฏิบัติ (การ์ดเกม ผี พระ เจ้า) วิถีปฏิบัติ ทินกร ศรีหาภาค ส่งเสริม ผู้นำเข้าข้อมูล อัปเดต 8 ก.ค. 2566 นักสังคมวิทยา-มานุษยวิทยารุ่นบุกเบิกที่ควรรู้จัก นักสังคมวิทยา-มานุษยวิทยาไทยที่บุกเบิกทำการศึกษาวิจัยและวางรากฐานองค์ความรู้มานุษยวิทยาไทย โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์ ผู้นำเข้าข้อมูล อัปเดต 15 พ.ย. 2566 ศาสนาคริสต์ (การ์ดเกม ผี พระ เจ้า) ศาสนาคริสต์กำเนิดขึ้นมา โดยพระเยซูทรงเป็นศาสดา ตั้งแต่ปีคริสต์ศักราชที่ ๑ แต่ชาวคริสต์เชื่อว่า ศาสนาคริสต์มีมาตั้งแต่พระผู้เป็นเจ้าทรงสร้างโลกและมนุษย์ เหตุการณ์ก่อนกำเนิดของพระเยซู จึงเป็นการเตรียมการเสด็จมาของพระองค์ ซึ่งชาวคริสต์เรียกว่า พระผู้ไถ่ (Redeemer) คือ ทรงมาไถ่กู้มนุษย์ให้พ้นจากบาป อันเป็นสาเหตุแห่งทุกข์ศาสนาคริสต์ถือกำเนิดขึ้นในประเทศอิสราเอล แล้วเผยแผ่ไปในยุโรป กลายเป็นศาสนาประจำอาณาจักรโรมัน ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ ๔ จากนั้นได้แพร่หลายออกไปทั่วโลกในยุคอาณานิคม นับแต่คริสต์ศตวรรษที่ ๑๕ เป็นต้นมา ทินกร ศรีหาภาค ส่งเสริม ผู้นำเข้าข้อมูล อัปเดต 8 ก.ค. 2566 วัดไทยในปทุมธานี บรรดาวัดไทยในจังหวัดปทุมธานี ดอกรัก พยัคศรี ผู้นำเข้าข้อมูล อัปเดต 15 พ.ย. 2566 เครื่องแต่งกาย (การ์ดเกม ผี พระ เจ้า) เครื่องแต่งกาย ทินกร ศรีหาภาค ส่งเสริม ผู้นำเข้าข้อมูล อัปเดต 8 ก.ค. 2566 วัดไทยในสมุทรสงคราม บรรดาวัดไทยในจังหวัดสมุทรสงคราม ดอกรัก พยัคศรี ผู้นำเข้าข้อมูล อัปเดต 15 พ.ย. 2566 วันสำคัญ (การ์ดเกม ผี พระ เจ้า) วันที่มีเหตุการณ์สำคัญบางอย่างเกิดขึ้นในพระพุทธศาสนา ส่วนใหญ่จะเป็นวันที่เกี่ยวข้องกับพระพุทธเจ้าซึ่งจะกำหนดเอาวันที่มีเหตุการณ์พิเศษเกิดขึ้นในชีวิตของพระองค์เป็นหลัก สุวิดา ภัทรพลกุล ผู้นำเข้าข้อมูล อัปเดต 7 ก.ค. 2566 ผลงานภาพถ่ายการทำงานภาคสนามของ Dr. Marlane Guelden ดร. มาร์เลน เกลเดน (Dr. Marlane Guelden) นักมานุษยวิทยาชาวอเมริกัน ผู้เดินทางเข้ามาใช้ชีวิตอยู่ในประเทศไทยมากกว่าสามสิบปี มีความสนใจเกี่ยวกับวิญญาณนิยม การเข้าทรงและ พิธีกรรมต่าง ๆ ของชาวไทย หลังจากเคยทำงานเป็นนักข่าวและช่างภาพมืออาชีพในหลายประเทศของภูมิภาคเอเชียอาคเนย์ในช่วงปี 1987-1991 ท่านเข้าศึกษาต่อระดับดุษฎีบัณฑิต สาขามานุษยวิทยา ที่มหาวิทยาลัยฮาวาย (University of Hawaii) โดยเข้ามาทำงานวิจัยภาคสนามและทำวิทยานิพนธ์เรื่อง Ancestral spirit mediumship in southern Thailand : the nora performance as a symbol of the south on the periphery of a Buddhist nation-state (2005) อันเกี่ยวกับการรำโนราในฐานะสื่อกลางกับวิญญาณบรรพบุรุษในพื้นจังหวัดภาคใต้ จนกระทั่งท่านได้ตัดสินใจลงหลักปักฐานใช้ชีวิตอยู่ในจังหวัดสงขลาจนถึงปัจจุบัน นิทรรศการภาพถ่ายของ ดร. มาร์เลน ชุดนี้ถ่ายทอดเรื่องราวเกี่ยวกับพิธีกรรม (ritual) และวิถีความเชื่อเรื่องวิญญานนิยม (animism) ในรูปแบบต่าง ๆ ที่ได้เก็บบันทึกข้อมูลภาคสนามตลอดช่วงชีวิตการทำงานในประเทศไทยในช่วงกว่าสามทศวรรษที่ผ่าน และได้รวบรวมเป็นผลงานตีพิมพ์หนังสือเล่มสำคัญ ได้แก่ Thailand: Into the Spirit World (1995) และ Thailand Spirit Among Us (2007) วรินกานต์ ศรีชมภู ผู้นำเข้าข้อมูล อัปเดต 15 พ.ย. 2566 ศาสนาผี (การ์ดเกม ผี พระ เจ้า) ศาสนาผี (ลาว) หรือ บ้านผี (อาหม) เป็นศาสนาดั้งเดิมของกลุ่มชาวไท ศาสนานี้มีลักษณะเป็นสรรพเทวนิยม และแบบลักษณ์พหุเทวนิยม-วิญญาณนิยม ซึ่งรวมบทบาทหมอผี มีความเชื่อที่ผสมผสานระหว่างแนวทางปฏิบัติของศาสนาพุทธและพราหมณ์-ฮินดูกับความเชื่อดั้งเดิมของท้องถิ่นในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ศาสนาผีเป็นศาสนาดั้งเดิมที่โดดเด่นในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้จนกระทั่งศาสนาพุทธและพราหมณ์-ฮินดูเข้ามา ปริยฉัตร เวทยนุกูล ผู้นำเข้าข้อมูล อัปเดต 6 ก.ค. 2566 ผลงานภาพถ่ายการทำงานภาคสนามของคุณ Jane Keyes ภาพการทำงานภาคสนามในประเทศไทย ของ ศาสตราจารย์ ชาร์ลส์ เอฟ. คายส์ (Charles F. Keyes) ที่คุ้นตาจากคอลเล็กชันจดหมายเหตุ ส่วนหนึ่งมาจากบุคคลสำคัญที่อยู่เบื้องหลัง นั่นคือ คุณเจน คายส์ (Jane Keyes) ภรรยาของท่าน ซึ่งอาจกล่าวได้ว่า คุณเจนเป็นผู้ช่วยและเป็นช่างภาพคนสำคัญ ที่ได้ร่วมทำงานวิจัยภาคสนามมาตั้งแต่แรกเริ่มชีวิตนักมานุษยวิทยาของศาสตราจารย์คายส์ ทั้งสองท่านเดินทางจากประเทศสหรัฐอเมริกา เข้ามาทำงานวิจัยภาคสนามที่บ้านหนองตื่น อำเภอเมืองมหาสารคาม ระหว่างเดือนพฤศจิกายน 2505 ถึงเมษายน 2507 เพื่อเป็นส่วนหนึ่งของการเขียนวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาเอกของอาจารย์คายส์ แทบทุกหนแห่งที่อาจารย์คายส์เดินทางไปศึกษา รวบรวมข้อมูลภาคสนาม พบปะผู้คนมากมาย คุณเจนคือช่างภาพคนสำคัญที่ทำงานร่วมกับท่าน ในช่วงเดือนแรก ๆ ที่บ้านหนองตื่น คุณเจนจดจ่ออยู่เฉพาะกับการช่วยเรื่องเอกสารงานวิจัย และการถ่ายภาพการทำงานในภาคสนามของอาจารย์คายส์เท่านั้น แต่ต่อมา เมื่อคุณเจนคุ้นเคยกับชาวบ้านมากขึ้น คุณเจนก็ได้เริ่มถ่ายภาพตามความสนใจของตัวเอง ในขณะที่อาจารย์คายส์ทำกิจกรรมร่วมกับชาวบ้านผู้ชายเป็นหลัก คุณเจนก็ได้เริ่มแยกตัวไปร่วมทำกิจกรรมในชีวิตประจำวันกับกลุ่มผู้หญิง กระทั่งได้รับการยอมรับจากพวกเธอ คุณเจนได้รับอนุญาตให้ถ่ายภาพชีวิตส่วนตัวของผู้หญิงที่บ้านหนองตื่นตั้งแต่การคลอดลูกไปจนถึงการตาย จนถึงปัจจุบัน คุณเจนยังคงรู้สึกประทับใจกับวิถีชีวิตและการต้อนรับของชาวบ้านบ้านหนองตื่นเป็นอย่างมาก คุณเจนจึงได้เลือกสรรภาพที่สะท้อนให้เห็นถึงความทรงจำและมุมมองของตัวคุณเจนเอง ที่มีต่อบ้านหนองตื่น มาจัดแสดงเป็นนิทรรศการชุดนี้ วรินกานต์ ศรีชมภู ผู้นำเข้าข้อมูล เข้าสู่เว็บไซต์ ฐานข้อมูล ดูทั้งหมด ชาติพันธุ์ (4) * กลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศไทย * งานวิจัยชาติพันธุ์ * ภาพยนตร์ชาติพันธุ์ * แผนที่วัฒนธรรมสาครบุรี * ดูเพิ่มเติม รวบรวมและนำเสนอข้อมูลในแง่มุมทางสังคมวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ต่าง ๆ ในประเทศไทย รวมถึงงานศึกษาวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อรู้จักและเข้าใจถึงความหลากหลายทางชาติพันธุ์ ในสังคมพหุวัฒนธรรมของประเทศไทย พิพิธภัณฑ์และจดหมายเหตุ (4) * พิพิธภัณฑ์ในประเทศไทย * จดหมายเหตุมานุษยวิทยา * หนังสือเก่าชาวสยาม * จดหมายเหตุดิจิทัล โควิด-19 * ดูเพิ่มเติม รวบรวมและนำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับพิพิธภัณฑ์และแหล่งเรียนรู้ ข้อมูลจดหมายเหตุทางวัฒนธรรม และการทำงานภาคสนามทางมานุษยวิทยา รวมถึงข้อมูลสิ่งพิมพ์และหนังสือเก่าที่ทรงคุณค่า อันเป็นมรดกความทรงจำที่สะท้อนประสบการณ์ ความคิด และวัฒนธรรมที่แตกต่างหลากหลาย มรดกวัฒนธรรม (9) * วิกิชุมชน * สารานุกรมวัฒนธรรมไทย * ประเพณีท้องถิ่น * นามานุกรมวรรณคดีไทย * ดูเพิ่มเติม รวบรวมและนำเสนอข้อมูลมรดกทางวัฒนธรรมในประเทศไทย ที่มีอยู่อย่างหลากหลาย ซึ่งล้วนแล้วแต่มีเอกลักษณ์และมีคุณค่า ทั้งมรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องได้ (Tangible Cultural Heritage) และจับต้องไม่ได้ (Intangible Cultural Heritage) ที่ได้รับการสืบทอดจากรุ่นสู่รุ่น ตั้งแค่อดีตจนถึงปัจจุบัน โบราณคดีและประวัติศาสตร์ (7) * เอกสารโบราณภาคตะวันตก * จารึกในประเทศไทย * แหล่งโบราณคดี * ศิลปกรรมอาเซียน * ดูเพิ่มเติม รวบรวมและนำเสนอข้อมูลหลักฐานทางโบราณคดีและประวัติศาสตร์ ทั้งที่เป็นลายลักษณ์อักษร และไม่เป็นลายลักษณ์อักษร เพื่อให้ทราบและเข้าใจถึงวิถีชีวิตของมนุษย์ในอดีต เข้าใจรากเหง้าของความหลากหลายทางวัฒนธรรมที่มีมาตั้งแต่ในอดีตจนถึงปัจจุบัน แวดวงมานุษยวิทยา (4) * คำศัพท์ทางมานุษยวิทยา * ข่าวมานุษยวิทยา * งานศึกษาวิจัย ศมส. * นักสังคมวิทยาและนักมานุษยวิทยา * ดูเพิ่มเติม รวบรวมและนำเสนอข้อมูลที่จะทำให้รู้จักมานุษยวิทยาดียิ่งขึ้น ทั้งคำศัพท์ทางมานุษยวิทยา นักมานุษยวิทยา ข่าวสารสถานการณ์ความเคลื่อนไหวที่เกี่ยวข้องกับมานุษยวิทยา รวมถึงงานศึกษาวิจัยโดยศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร รวบรวมและนำเสนอข้อมูลในแง่มุมทางสังคมวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ต่าง ๆ ในประเทศไทย รวมถึงงานศึกษาวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อรู้จักและเข้าใจถึงความหลากหลายทางชาติพันธุ์ ในสังคมพหุวัฒนธรรมของประเทศไทย แนะนำหนังสือ ครรภ์แห่งชาติ: รัฐเจริญพันธุ์ ร่างกาย และเพศวิถี หนังสือเล่มนี้ช่วยตอกย้ำให้เห็นว่า แม้รัฐจะกะเกณฑ์ และบงการให้ร่างกายและการตั้งครรภ์ของผู้หญิง กลายเป็นทรัพยากรทางการเมืองของชาติ แต่เรือนร่างและการเจริญพันธุ์นี้ก็เป็นพื้นที่ของการท้าทายและช่วงชิงความหมาย ดูรายละเอียด ร้านหนังสือ หนังสือใหม่ SAC REPORT ภูมิทัศน์สังคมศาสตร์ไทย: สถานะ คุณค่า และทิศทางการพัฒนา ดูรายละเอียด ร้านหนังสือ หนังสือใหม่ คีตล้านนาคดี มานุษยวิทยาดนตรีและพิธีกรรมในล้าน หนังสือเล่มนี้ เป็นผลมาจากประสบการณ์การเป็น "หมู่แห่" ของผู้เขียนที่เคยรับบรรเลงตามงานต่างๆ โดยเฉพาะ "งานพระ" กับ "งานผี" ดูรายละเอียด ร้านหนังสือ SAC SERVICES บริการ SAC [เอส เอ ซี] เข้าใจความหลากหลายทางข้อมูลเกี่ยวกับวัฒนธรรม ผ่านบริการยอดนิยมทางศูนย์มานุษยวิทยา Annual Report รายงานประจำปี PMOP ระบบบริหารงาน Journal of Anthropology วารสารมานุษยวิทยา Library ห้องสมุด Online Exhibition นิทรรศการออนไลน์ Procurement จัดซื้อจัดจ้าง Press สื่อมวลชน Activities กิจกรรม 20 ถนนบรมราชชนนี เขตตลิ่งชัน กรุงเทพมหานคร 10170 ภายใต้การกำกับดูแลของกระทรวงวัฒนธรรม 2021 © ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) www.sac.or.th วันจันทร์-ศุกร์ : 08.00-17.00 น. TELEPHONE 0-2880-9429 E-MAIL webmaster@sac.or.th FAX 0-2880-9332 ช่องทางการรับฟังความคิดเห็น ช่องทางการแจ้งเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ Application : Smart SAC บริการความรู้ บริการความรู้ * ฐานข้อมูล * บทความ * วารสาร * นิทรรศการ * จดหมายข่าว ข่าวสารและกิจกรรม ข่าวสารและกิจกรรม * กิจกรรม * ข่าวประชาสัมพันธ์ * จัดซื้อจัดจ้าง * ร่วมงานกับเรา * สื่อมวลชน เกี่ยวกับเรา เกี่ยวกับเรา * ข้อมูลหน่วยงาน * โครงสร้างองค์กร * ธรรมาภิบาล * คำถามที่พบบ่อย (FAQs) * รายงานประจำปี 2565 * ข้อกำหนดการให้บริการ * นโยบายข้อมูลส่วนบุคคล * ประกาศความเป็นส่วนตัว ติดต่อเรา ติดต่อเรา * ข้อมูลติดต่อ * จองเยี่ยมชมพื้นที่เรียนรู้ SAC Shop SAC Shop * วิธีการสั่งซื้อ * วิธีการชำระเงิน * แจ้งชำระเงิน © 2564 ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) SCAN ME open in browser SCAN ME open in browser